Daily News Thailand

เก็บภาษีที่ดินกทม.ยิ้ม ทำ�ยอดร�ยได้พุ่งปีละกว่�4หมื่นล้�น หนุนเต็มที่หวังได้เงินพัฒน�เมืองเพิ่ม

-

นายจุมพล สำาเภาพล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร(กทม.) เปิดเผยถึงกรณีการปรับเพิ่มอัตราการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ของรัฐบาลว่า ภาษีดังกล่าวท้องถิ่นจะเป็นผู้จัดเก็บจะนำามาใช้ประโยชน์ เอง พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างนี้รัฐบาลจะนำาม­าใช้ทดแทน โดย รวม พ.ร.บ.ภาษีบำารุงท้องที่ และพ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดินที่ใช้อยู่ ในปัจจุบัน ทั้งนี้สำาหรับ กทม.นั้น ปัจจุบันมีการจัดเก็บภาษี 3 ชนิด คือ ภาษีป้าย ภาษีบำารุงท้องที่ และภาษีที่ดินและโรงเรือน ซึ่งที่ผ่านมา นั้นการจัดเก็บภาษีของกทม.ในส่วนของภาษีบำารุงท้องที่และภาษีที่ดิน และโรงเรือนก็ยังใช้คำานวณเก็บภาษีก็ใช้ราคาประเมินที่ดินปี 2521- 2524 ที่เป็นการจัดเก็บตามขนาดพื้นที่มากกว่ามูลค่าที่ดินหรือสิ่งปลูก สร้างคือหากที่ดินมีขนาด 100 ตารางวาขึ้นไปจึงจะเสียภาษีและไม่มีการ ปรับอัตราจัดเก็บมานานกว่า 30 ปี ทำาให้เก็บภาษีได้ต่ำาเกินไปและไม่ เป็นไปตามมูลค่าที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ จึง ถือว่าไม่เป็นธรรมเนื่องจากในส่วนของกรุงเทพฯนั้น พื้นที่ชั้นในหรือ ใจกลางเมืองนั้นมีพื้นที่น้อยไม่ถึงระดับที่จะเสียภาษีทั้งที่เมื่อรวมปัจจัย อื่น ๆ หรือการพัฒนาแล้วเป็นพื้นที่ที่มีมูลค่าที่ดินสูงมากแตกต่างกับ พื้นที่รอบนอกซึ่งพื้นที่ยังไม่มีการพัฒนาและระบบ­สาธารณูปโภคยังไม่ ครอบคลุมแต่กลับมีพื้นที่ต่อแปลงขนาดใ­หญ่ซึ่งเข้าข่ายต้องเสียภาษี ดังนั้นการเพิ่มอัตราภาษีตนคิดว่าเป็นการปรับเปลี่ยนเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และเหมาะสม­มากขึ้น

นายจุมพลกล่าวต่อว่า ปัจจุบัน กทม.จัดเก็บภาษีบำารุงท้องที่ได้ ปีละ 130 ล้านบาท และภาษีที่ดินและโรงเรือนเก็บได้ 12,000 ล้านบาท โดยรวมเก็บได้ปีละประมาณกว่า 12,130 ล้านบาท หากมีการปรับอัตรา การเก็บตามที่รัฐบาลกำาหนด­ก็จะทำาให้ กทม.จัดเก็บได้เพิ่มขึ้นประมาณ 4 เท่า คือจะเก็บได้ปีละกว่า 40,000-50,000 ล้านบาท ทั้งนี้ตนคิดว่าการ จัดเก็บภาษีเพิ่มขึ้นในปริมาณดังกล่าวนั้นเมื่อเทียบกับภารกิจที่ กทม. ต้องทำาเพื่ออำานวยควา­มสะดวกหรือบริการประชาชน เช่น การดูแลเรื่อง การศึกษาได้แก่ เรียนฟรี การเพิ่มอุปกรณ์ต่าง ๆ การดูแลเรื่องเบี้ยยังชีพ ผู้สูงอายุ การรักษาพยาบาล การจัดการขยะ การให้บริการประชาชน ต่าง ๆ รวมถึงการเพิ่มระบบโครงส­ร้างพื้นฐานต่าง ๆ เพื่ออำานวยควา­ม สะดวกแก่ประชาชน ซึ่งปัจจุบันงบประมาณที่ กทม. มีและรัฐบาล อุดหนุนนั้นยังถือว่าไม่เพียงพอ ทั้งนี้ในส่วนของราคาบ้านหรือสิ่งปลูก สร้างที่ต้องเสียภาษีต้องติดตามว่ารัฐบาลจะเริ่มจากระดับราคาเท่าใดแต่ ยังถือว่าเป็นการจัดเก็บไม่มากหากพิจารณาจากพื้นฐานการซื้อที่อยู่อาศัย ทั่ว ๆ ไปของประชา­ชน เช่น ราคาบ้าน 2.5 ล้านบาทก็จะเสียภาษีเพิ่ม เดือนละประมาณ 1,000 บาท ส่วนในราคาที่ตำ่ากว่านี้ก็ไม่เสียซึ่งต้อง เร่งทำาความเข้าใจกับประชาชนถึงแนวทางดังกล่าว.

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand