Daily News Thailand

กรมชลประทา­นลุยช่วยชาวบ้าน สร้างอ่างเก็บน้ำา-ฝายกักเก็บ

-

นายณรงค์ ลีนานนท์ รองอธิบดีกรมชลประทา­น ฝ่ายก่อสร้าง กล่าวว่า ราษฎรลุ่มน้า�เลยประสบปัญหาน้า�ทว่ม และขาดแคลน­นา้� เพราะไม่มีแหล่งนา้�ที่เหมาะสม อ่างเก็บนา้�ที่ มีอยู่เดิม ๆ ส่วนใหญ่เป็นอ่างขนาดเล็ก และที่มีความจุมากกว่า 1 ล้านลบ.ม. ก็มีเพียง 3 แห่ง สภาพเช่นนี้ จึงไม่แปลกที่พื้นที่ ดังกล่าวของ จ.เลย จะประสบปัญหาเรื่องนา้�ตลอดมา ในวันที่ 20 พฤศจิกายน2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน พระราชดา�ริให้กรมชลประทา­นพิจารณาก่อสร้างเขื่อนเก็บกักนา้� บริเวณแม่นา้�เลย 3 แห่ง ได้แก่ เขื่อนนา้�เลย เขื่อนนา้�ทบ เขื่อนนา้�ลาย และก่อสร้างฝายหรือ เขื่อนทดน้า�ตามความเหม­าะสมบริเวณลุ่มน้า�เลยตอนล่าง โดยให้เขื่อนกักเก็บน้า�สง่น้า�ลงมาเสริม นา้�ธรรมชาติที่ฝายด้านล่าง

ถือเป็นความชัดเจนในแนวท­างพระราชดา�ริอย่างยิ่ง กรมชลประทา­นได้สนองพระราช­ดา�ริ โดยการก่อสร้างอ่างเก็บนา้�ในลา�นา้�สาขา 3 แห่ง ได้แก่ อ่างฯห้วยนา้�สวย 3.30 ล้านลบ.ม. อ่างฯ ห้วยน้า�หมาน 26.50 ล้านลบ.ม. อ่างฯบ้านน้า�คู้ 1.42 ล้านลบ.ม.และอ่างฯน้า�เลย ในแม่น้า�เลย ความจุ 35.807 ล้านลบ.ม. ซึ่งกรมชลประท­านโดยกองพัฒนาแหล่งนา้�ขนาดกลางก่อสร้างเพิ่ง แล้วเสร็จ และเก็บกักน้า�ได้ในปี 2559 นี้ ส่งผลให้ปริมาณความจุของแหล่งน้า�ทงั้หมดในลุ่มน้า� เลย รวมกัน 85.43 ล้านลบ.ม. ซึ่งก็ยังคงน้อย ยังต้องรอการก่อสร้างอ่างเก็บนา้�นา้�ทบและอ่าง เก็บนา้�นา้�ลาย ตามพระราชด­า�ริต่อไป ส่วนฝายนั้น กรมชลประทา­นได้ก่อสร้างฝายในลา�นา้�เลย ได้แก่ ฝายยางบ้านทรายขาว ฝายยางบ้านท่าทิศเฮือง ฝายยางบ้านติดต่อ ฝายยางบ้านปากหมาก และฝายยางบ้านบุ่งกกตาล ซึ่งทา�หน้าที่ทดน้า�เข้าพื้นที่การเกษตร นอกเหนือจากฝายเล็กฝาย น้อยจา�นวนมากที่สะท้อนถึงความต้องการนา้�อย่างมากของเก­ษตรกร ลา�พังฝายเก็บนา้�ไว้ในลา�นา้� ได้ในปริมาณจา�กัด หากไม่มีนา้�ต้นทุนด้านบนส่งมาก็ใช้ประโยชน์ได้ไม่มากนัก การก่อสร้างอ่าง เก็บนา้�ตอนบน จึงเป็นเรื่องสา�คัญที่ต้องดา�เนินการกันต่อไป นายณรงค์กล่าว

ไม่ต่างจากโครงก­ารประตูระบายน้า�ศรีสองรัก อ.เชียงคาน ก่อนที่แม่น้า�เลยจะไหลลง­สู่ แม่นา้�โขงนั้น นายณรงค์กล่าวว่า นโยบายของรัฐบาลต้องการเก็บนา้�ไว้ในแผ่นดินไทยให้มาก ที่สุด แทนการปล่อยลงแม่นา้�โขงอย่างเดียวเหมือนอย่างที่ผ่านมา โดย ปตร.ศรีสองรัก จะเก็บ กักน้า�ปลายฤดูฝนไว้ในลา�น้า� 6 ล้านลบ.ม.รองรับฤดูแล้ง ในขณะฤดูน้า�หลากก็จะใช้ ปตร.ศรี สองรัก บริหารจัดการทั้งน้า�หลากภายในลุ่มน้า�และน้า�จากแม่น้า�โขง ไม่ให้ท่วมพื้นที่

“ที่สา�คัญอีกอย่าง เมื่อระดับนา้�ในแม่นา้�เลยตา่�มาก ๆ ก็สามารถสูบนา้�โขงส่วนที่ไหล เข้ามาในแผ่นดินไทยขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ด้วย เพราะมี ปตร.ศรีสองรัก เป็นเครื่องมืออยู่แล้ว ลักษณะเดียวกับโครงการ ปตร.ธรณิศนฤมิต จ.นครพนม หรือ ปตร.ห้วยหลวงตอนล่าง จ.หนองคาย ” รองอธิบดีกรมชลประทา­นกล่าว.

 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand