HELLO! Education

กอบกšญจน์ - แพรวš วัฒนวรšงิก้ร

ศิิษย์์เก่่า Wellesley College หนึ่่²งในึ่ Seven Sisters มหาวิิทย์าลััย์หญิิงลั้วินึ่ชั้ั³นึ่นึ่ำาของโลัก่

-

“แพรเขียนแบบไม่รู้ตัวว่า graduate from Wellesley ไมใ่ ชว่ า่ แพรอยากไป แตเ่ หมอื น ที่นี่กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราไปแล้ว”

สำหรับครอบครัวสุริยสัตย์ - วัฒนวรางกูร แล้ว เรื่องราวของมร­ดกทางการศึึกษาคงต้อง เริ่มจาก ท่านผูู้้หญิิงนิรมล สุริยสัตย์ ตามด้วย คุณกอบกาญิจน์ สุริยสัตย์ วัฒนวรางกูร หรือ คุณน้อง ประธานกรรม­การบริหารบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จำกัด และประธานก­รรมการ ธนาคาร กสิกรไทย และคุณแพรวา วัฒนวรางกูร หรือ คณุ แพร ซึ่งึ่ เปน็ สภุ าพสตรตี า่ งรนุ่ ทตี่ า่ งกเ็ ขา้ เรยี น ใน Wellesley College เหมือนกัน

“คุณแม่ (ท่านผูู้้หญิิงนิรมล สุริยสัตย์) เรียน ปริญิญิาตรีทางด้านเคมีที่ Wellesley แล้วไป ต่อโทด้าน Food Science ที่ MIT และยังเป็น ผูู้้หญิิงไทยคนแรกที่เรียน MIT นอกจากนีĨท่านยัง เริ่มเรียนปริญิญิาเอกไปบ้างแล้วด้วย แต่คุณตา (มา บลู กลุ ) เปน็ หว่ งกลวั ลกู สาวมแี ฟนแลว้ ไมก่ ลบั ไทย เผู้อญิิ ทา่ นไปรว่ มงานรบั ปรญิิ ญิาของญิาตทิ Yale University แลว้ คณุ แมต่ ามไปดว้ ย กเ็ ลยเจอ คุณพ่อ (กร สุริยสัตย์) ที่นั่น

“คุณพ่อเดินตัดเวทีเต้นรำมาสวัสดีคุณตา บอกว่าผู้มเป็นลูกพระสุริยสัตย์ คาดว่าคุณพ่อ คงชอบคุณแม่ตĨังแต่วันนĨัน แล้วพอกลับไทย คุณพ่อก็ไปเยี่ยมคุณตาท่ีบ้าน คุณตารู้สึกถููก ชะตาคุณพ่อมาก เพราะว่าชอบความซึ่อื่ ตรงของ คุณปูł (พระสุริยสัตย์) ซึ่ึ่งนามสกุลสุริยสัตย์เป็น นามสกลุ พระราชทานจ­ากรชั กาลที่6นยั วา่ เพราะ ท่านเป็นข้าราชการที่ซึ่ื่อสัตย์ดั่งดวงอาทิตย์”

ในวันที่โลกยังไม่มีคำว่า Lifelong Learning อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศึาสตร์ และ อดีตผูู้้จัดการหญิิงคนแรกของโ­ลกของ Shell อย่างท่านผูู้้หญิิงนิรมลสอนลูกสาวอย่างคุณน้อง ว่า การศึึกษาที่ดีควรจะสอนแบ­บกว้างไว้ก่อน และ Liberal Arts อันเป็นแนวทางการ­ศึึกษาของ มหาวิทยาลัยส่วนใหญิ่ในอเมริกาตอบโจทย์นีĨ นอกจากนีĨการศึึกษาที่ดียังต้องสอนให้เด็กเรียน ให้รู้ดูให้เป็น เพราะไม่ว่าอะไรที่อยใู่ นตำรา พอถูึง พรุ่งนีĨก็กลายเป็นล้าสมัยหรือใช้ไม่ได้แล้ว เพราะ ฉะนĨันการศึึกษาที่ดีจะต้องปลูกฝัังให้เด็กมีความ ใฝัłรู้ไปจนชวั่ ชีวิต (Lifelong Learning) ซึ่ึ่งนับเป็น แนวคิดที่นับว่ามาก่อนกาลมาก ห้น¬ึงิปีคัรึ¬งิที่่¬เปÛีย์มคัวšมห้มšย์ใน Wellesley College

คุณน้องนĨันสมัยประถูมเคยเป็นนักเรียน ประจำทโี่ รงเรยี นวฒั นาวทิ ยาลยั ซึ่งึ่ เชอื่ ใน honour system เช่นเดียวกับที่ Wellesley College

“นอกจากวัฒนาฯ กับ Wellesley จะเป็น โรงเรียนหญิิงล้วนเหมือนกันแล้ว ที่เหมือนกันอีก อย่างก็คือเรื่อง honour system ซึ่ึ่งปลูกฝัังเร่ือง ความซึ่อ่ื สตั ยส์ จุ รติ ตอนนอ้ งอยู่ ป.6 ครทู ค่ี มุ สอบ บอกนักเรียนทĨังห้องที่กำลังจะสอบว่า ฉันเช่ือใน เกียรติของเธอนะ แล้วครูก็เดินออกจากห้องสอบ ไปทนี นีĨ อ้ งกบั เพอื่ นกเ็ลยเขยี นคำตอบใสก่ ระดาษ คำตอบแล้วขยำใส่ถูังขยะ จากนัĨนเตะถูังขยะไป ให้เพื่อนอีกคนลอกคำตอ­บ พลางหัวเราะคิกคัก เพราะครูไม่อยู่

“แต่สุดท้ายจำได้ว่าเย็นวันนัĨนน้องกับเพื่อน ที่ทำผู้ิดร่วมกันไปนั่งคุยกันไปกันมาจนรู้สึกแย่ ลงเรื่อยๆ และร้องไห้เสียใจด้วยความรู้สึกผู้ิดว่า คะแนนที่ได้มาไม่ได้มาจากความส­ามารถูของ เราเองจริงๆ เราทำอะไรล­งไปที่มันไม่สมควรเลย ก็เลยพากันไปบอกครูท่านนัĨนว่าเราลอกข้อสอบ กัน ครูก็เลยทำโทษด้วยการให้เย็บเสĨอื คอกระเช้า ซึ่งึ่ เปน็ วชิ าทพี่ วกเราเกลยี ดทสี่ ดุ ”คณุ นอ้ งหวั เราะ เบาๆ ขำตัวเอง

“พอมาที่ Wellesley เขามีการสอบ 2 แบบ คือสอบระหว่างเทอม กับ take home exam ซึ่ึ่ง take home exam เขาบอกว่าให้เวลาทำข้อสอบ สมมุติว่านานสองชั่วโมง ห้ามเปิดหนังสือ แต่คุณ จะนงั่ ทำทงัĨ คนื หรอื เปดิ หนงั สอื กไ็ ด้ เพราะไมม่ ใี คร เหน็ กเ็ ปน็ อะไรทสี่ กู้ นั อยใู่ นใจนอ้ งวา่ เราอยากได้ A แตไ่ มอ่ ยากทำผู้ดิ นอ้ งวา่ นคี่ อื สว่ นหนงึ่ ของการ ฝัึกจิตเรา สุดท้ายน้องก็ไม่เปิดตำรา และไม่ได้ A

“ตอนสอบ final exam ก็เหมือนกัน เขาจะ กำหนดวันสอบราวห้าวัน เราสามารถูเลือกสอบ วนั ไหนกไ็ ด้ แลว้ หอ้ งสอบเปน็ หอประชมุ ทน่ี กั เรยี น ทกุ คณะจะมาสอบ­รวมกนั สมมตุ นิ อ้ งจะสอบวชิ า Art History สามารถูเลอื กสอบวนั ไหนกไ็ ด้ จะมคี รู คอยเฝัา้ อยคู่ นหนงึ่ แลว้ นอ้ งอาจนงั่ ขา้ งคนทสี่ อบ Art History เหมอื นกนั กไ็ ด้ หรอื อาจจะนงั่ สอบขา้ ง คนที่เรียนวิชาอื่นก็ได้ เราไม่รู้ ซึ่ึ่งเป็นการทดสอบ จิตใจเราเหมือนที่วัฒนาฯ”

สำหรับเพื่อนร่วมห้องที่ Wellesley ของ

คุณน้อง ก็เป็นประสบการณ์ที่แปลก ใหม่มากสำหรับเด็กผูู้้หญิิงชาวไทย คนหนงึ่ ผู้เู้ คยไปซึ่มั เมอรท์ ตี่ า่ งประเทศึ เพียง 2 หน แล้วก็ต้องย้ายไปเข้า เรียนทันทีที่ได้รับการตอบรับจาก มหาวิทยาลัยในต่างแดน กลายเป็น culture shock ครัĨงใหญิ่สำหรับเธอ เพราะนอกจา­กจะไม่พร้อมเรื่องภาษา แล้ว การเข้าสังคมสำหรับเธอยังเป็น เรื่องทยี่ ากเกินคาดคิด

“รูมเมตของน้องชื่อเจน คลาวด์ เป็นอเมริกันที่ประกาศึว่า ฉันจะเป็น The next female President หลังจาก อยู่ด้วยกันพักหนึ่ง เขาก็ไปฟ้อง Head of House ว่าน้องไม่ใช่คน ขอเปลี่ยน รูมเมต เพราะคนต้องมี opinion แต่ น้องไม่มี opinion ตĨังแต่วันแรกที่เข้า หอพัก น้องไปถูึงก่อนก็เลยเลือกเตียง ติดหน้าต่าง พอเขามาถูึงก็บอกว่าฉัน จะนอนเตียงเธอ น้องก็ยอมย้ายให้ ตอนซึ่ักผู้้าน้องก็พับผู้้าให้เขาด้วย ตก กลางคืนเขาเล่นเปียโนร้องเพลงกัน ใน common room น้องก็ร้องเหมือน เขาไมไ่ ด้ วชิ าโมเดริ น์ แดนซึ่ท์ ง่ี า่ ยทสี่ ดุ แล้ว น้องก็เรียนไม่ได้ต้องดรอป คือ เวลาเขาพูดอะไรมา อาจเป็นเพราะ น้องเป็นคนเงียบด้วย น้องจะไม่เถูียง และทำตามหม­ดเลย อาจเป็นเพราะ เรา very Thai ทำให้มีปัญิหาเรื่องการ ปรับตัวมหาศึาลเลย

“แล้วตอนนĨนั น้องไม่มีความมั่นใจ ในตัวเองเลยนะค­ะ เวลาพรีเซึ่นต์ งานหน้าชัĨน น้องต้องสวมเสืĨอแขน ยาวกระโปรง­ยาว เพราะผู้ิวจะขĨึนผู้่ืน ระหว่างที่พูดไปเนี่ย น้องจะรู้ว่าผู้ื่นขึĨน แล้วเพราะเริ่มคัน ต้องบอกเป็นช่วงที่ น้อง suffer เรื่องเพอื่ นมาก จะตรงข้าม กบั คณุ แมเ่ พราะทา่ นเปน็ คน outgoing มาก จนถูึงยุคแพรก็ไม่มีปัญิหา เพราะ เขาเข้ากับเพอื่ นได้ดีมากค่ะ”

สำหรับการเป็นนักวิ่งหญิิง ตัวกลั่นของไทยท่ีเข้าแข่งวิ่ง

‘ไม่ว่šอะไรที่่¬อย์้่ในติำšรš พอถึงิพร่งิน่ก็กลูšย์เป็น ลูӚสำมัย์ห้รือใชÓไม่ไดÓแลูÓว เพรšะฉะนันกšรศึึกษšที่่¬ด่ จะติอÓ งิปลู้กฝัังิให้Óเด็กม่ คัวšมใฝั่ร้Óจนชั¬วช่วิติ (Lifelong Learning)’ คุุณน้้อง

หลายรายการ­ในวันนĨี คงต้องบอกว่ามีจุดเริ่มจากที่ Wellesley “เราเห็นคนออกมาว่ิงจ็อกกĨิงทุกเช้าและ เย็น น้องก็เลยไปซึ่ĨือเสĨือวอร์มมาลองใส่วิ่ง ปรากฏ ว่าวิ่งไปได้แค่ 5 นาที น้องแทบขาดใจ คิดในใจว่า เราคงไม่ได้เกิดมาเพ่ือวิ่ง แล้วก็ไม่วิ่งหรือเล่นกีฬา อะไรอีกเลย จนกระทั่งปี 2000 ทัĨงน้องชายและ คุณพ่อเปลี่ยนไต คุณแม่เป็นลูคีเมีย เป็นปีที่เปลี่ยน ชวี ติ นอ้ งไปเลย ทำใหเ้ รากลบั มาเรมิ่ ตน้ วงิ่ อยา่ งจรงิ จงั จนถูึงทุกวันนĨ”ี

คุณน้องเรียน Wellesley เป็นเวลานานปีครึ่ง จึง ย้ายที่เรียน ทว่าไม่ใช่ด้วยเหตุผู้ลที่เธอเรียนไม่ได้ แต่ เป็นเพราะคุณน้องมีพรสวรรค์ทางด้านศึิลปะต่าง หากนนั่ เอง “ครศึู ลิ ปะที่ Wellesley บอกวา่ กอบกาญิจน์ น่าจะเรียนศึิลปะโดยตรง น้องก็เลยสมัครที่ RISD (Rhode Island School of Design) แล้วได้ไปเรียน Graphic ก่อนเทอมหนึ่ง เพราะไม่มั่นใจว่าจะเรียน สถูาปัตย์ได้หรือเปล่า สุดท้ายน้องจึงย้ายไปเรียน สถูาปัตย์ตอนปี 3”

Wellesley ในย์่คัมิลูเลูนเน่ย์ม

Wellesley College ตงัĨ อยทู่ เี่ มอื ง Wellesley หา่ ง จากบอสตันราวสามสิบนาทีขับรถู เมื่อถูึงฤดูหนาว คณุ แพรวายอมรบั วา่ หนา้ หนาวทนี่ นี่ นัĨ หนาวจบั จติ จบั ใจ

“เดือนกุมภาพันธ์จะเป็นช่วงเวลาที่หนาวมากค่ะ เป็นครัĨงแรกที่แพรเข้าใจความหมา­ยของคĬาว่า หนาว เข้ากระดูก เพราะหนาวจ­นเจ็บเลยนะคะ แต่ขนาด ว่าหนาวจนถูึงขĨันนĨัน คลาสก็ไม่เคยปิดนะคะ ยกเว้น ถู้ามีพายุหิมะ แล้วต้องปิดถูนน ครูเข้าไม่ได้...ถูึงปิด”

“จำได้ว่าน้องเคยเข้าคลาสไปพร้อมกับความคิด ว่าเราต้องเป็นคนเดียวแน่ๆ เลยที่บากบั่นมาเรียน แต่ ปรากฏว่านักเรียนนั่งหน้าสลอนเต็มห้อง ครูไม่เคย พูดโต้งๆ ว่าเราเป็นนักเรียนต้องรับผู้ิดชอบเรื่องการ เรียน แต่บรรยากาศึการเรียนมันเป็นแบบนัĨนเอง” คุณน้องเสริม

คุณแพรเป็นร่นุ ที่ 3 แล้วที่เข้าเรียนที่ Wellesley เพราะอะไรถูึงต้องเป็นที่นี่ เธอบอก HELLO! Education ว่า “เป็นเพราะคุณแม่เล่าเรื่องสมัยเรียน Wellesley ใหแ้ พรฟงั ตลอดเวลา จนเหมอื นแพรซึ่มึ ซึ่บั วา่ ตอ้ งเรยี นทนี่ ไี่ ปโดยอตั โนมตั ตอนอยู่ Harrow Internatio­nal School ครใู หเ้ ขยี นไทมไ์ ลนช์ วี ติ เรา แลว้ แพร เขียนแบบไม่รู้ตัวว่า graduate from Wellesley ไม่ใช่ ว่าแพรอยากไป แต่เหมือนที่นี่กลายเป็นส่วนหนึ่งของ

‘เย์็นวันนนั นอÓ งิกับเพ่อนรอÓ งิไห้Óเสำ่ย์ใจดÓวย์คัวšมร้Óสำึกผ่ิดว่š คัะแนนที่่¬ไดÓมšไม่ไดÓมšจšกคัวšมสำšมšรถข้องิเรšเองิจริงิๆ ก็เลูย์พšกันไปบอกคัร้ว่š เรšลูอกข้Óอสำอบ’ คุุณน้้อง

ชีวิตเราไปแล้ว”

ปี 2015 เป็นปีที่คุณแพรเข้าเรียนที่ Wellesley ซึ่ึ่งเป็นยุคที่ต้องใช้คะแนนสอบวิชาต่างๆ สูงกว่ายุค ก่อนๆ คุณแพรเดาว่าคงเป็นเพราะฮิิลลารี คลินตันซึ่ึ่ง เป็นศึิษย์เก่าสมัครเป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในช่วง นีĨ ทำให้แข่งขันสูงจึงเข้ายากขึĨน และที่นี่จะมี Slater Internatio­nal Center ไว้คอยดูแลนักเรียนต่างชาติ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งเอกสาร หรอื การใหค้ ำปรกึ ษาเกยี่ วกบั เรื่อง culture shock หรือให้ความช่วยเหลือในเรื่อง ตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งการเรยี นหรอื ชวี ติ ความเปน็ อยู่

“ปที แี่ พรเขา้ ไป เขาเพมิ่ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทาง ด้านการเงินแก่นักเรียน ทำให้มีเด็กหลากหลายม­าก ขนึĨ และทงัĨ โรงเรยี นจะเปน็ เฟมนิ สิ ตต์ วั ยง หนงึ่ ในคลาส ที่แทบทุกคนรวมทัĨงแพรเลือกเรียนก็คือ Women & Gender Studies แม้ว่าเขาจะไม่บังคับให้เรียนก็ตาม เหมอื นมนั เปน็ สง่ิ ทเี่ ดก็ Wellesley ตอ้ งเรยี น ทำใหแ้ พร เปดิ กวา้ งมากขนĨึ คะ่ ”คณุ แพรซึ่งึ่ ปจั จบุ นั จบการศึกึ ษา ปริญิญิาตรีจาก Wellesley แล้ว และกำลังอยู่ในช่วง ทดลองทำงาน­เล่า

“นอกจากนĨีในแง่ของความนึกคิดด้านการเมือง สมัยน้องเรียน ยังไม่มีใครในโลกรู้จักอองซึ่านซึู่จี

แต่เด็ก Wellesley รู้จัก และซึ่ัพพอร์ต อองซึ่านซึู่จี Wellesley จะเป็นแบบนีĨ” คุณน้องกล่าว

แม้คุณแพรจะโตไม่ทันท่านผูู้้หญิิง นิรมล แต่การได้เข้าไปใน Alumni Hall ซึ่ึ่งอยู่ใกล้กับหอพักยามรู้สึกทุกข์ใจ เพื่อ นั่งดูรูปท่านซึ่ึ่งติดอยู่ในฮิอลล์ดังกล่าวใน ฐานะศึษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ กท็ ำใหเ้ ธอรสู้ กึ อบอนุ่ และหายเหงา

“ดว้ ยความทคี่ ณุ ยายเสยี ตงัĨ แตแ่ พรยงั เล็กๆ เวลาแพรเหง­าหรือต้องการระบาย ความในใจ แพรจะเข้าไปใน Alumni Hall เพื่อดูรูปท่าน แล้วก็นึกถูึงเรื่องราวของ คุณยายที่คุณแม่เคยเล่าให้ฟัง ก็จะรู้สึก เหมอื นทา่ นยงั อยกู่ บั แพร กบั คณุ แม่ บางที แพรก็จะเล่าให้คุณแม่ฟังว่าแพรเรียน วิชานีĨสมัยท่านเคยเรียนหรือเปล่า หรือ อย่างเรียนวิชาดาราศึาสตร์ที่หอดูดาว ของโรงเรียน แพรก็จะสงสัยว่าคุณแม่เคย เรียนที่ห้องนĨีไหม หรือบางทีก็จะเล่าให้ ท่านฟังว่าแพรเรียนอะไรมา แพรจะชอบ เล่าให้คุณแม่ฟัง เพื่อทดสอบตัวเองว่า เราเข้าใจวิชาที่เรียนมาจริงหรือเปล่า ถู้า คุณแม่เข้าใจแสดงว่าเราเข้าใจ

“ตลอดเวลาเรียนแพรอยากก­ลับบ้าน มากๆ อยู่ 2 ครัĨงค่ะ ครĨังแรกคือตอนที่ คุณแม่ไปส่งที่หอ แล้วท่านต้องรีบกลับ ไปทำงานต่อ แพรจำได้ว่านั่งอยู่บนเตียง ความที่หอพักเป็นอาคารสไตล์โกธิค แล้ว หน้าต่างติดลูกกรงเหล็ก นั่งมองดูคุณแม่ ขึĨนรถูที่ลานจอดรถูผู้่านลูกกรง ร้องไห้อยู่ คนเดียว กับอีกครัĨงตอนสอบ แพรจองตĪวั เครอื่ งบนิ กลบั ไทยตอนวนั สดุ ทา้ ยของการ สอบ แต่แพรสอบเสร็จตัĨงแต่ช่วงสองสาม วนั แรก แลว้ หอกเ็ งยี บ เพราะเพอื่ นกลบั ไป หมดแล้ว เหลือแพรอยู่คนเดียว เป็นครĨัง สุดท้ายที่รู้สึกอยากกลับบ้านมากๆ ค่ะ”

สำหรับการเรียนในสถูาบันเดียวของ ผูู้้หญิิง 3 รุ่นต่อเนื่องกัน นับเป็นมรดกที่ สำคัญิเป็นพิเศึษ เราถูามคุณแพรว่ารู้สึก อย่างไรที่ได้เรียนร่วมสถูาบันกับคุณแม่ และคุณยาย “Wellesley ทำให้แพรรู้สึก ได้ถูงึ สายสัมพนั ธ์ระหว่างแพรกบั คุณยาย และกับคุณแม่ แพรภูมิใจมากค่ะที่ได้ เจริญิรอยตามท่านทัĨงสอง”

‘คัณ่ แม่เลู่šเร่องิสำมัย์เร่ย์น Wellesley ให้Óแพรฟังิั ติลูอดเวลูš จนเห้มือนแพร ซึึมซึับว่šติÓองิเร่ย์นที่่¬น่¬ไปโดย์ อัติโนมัติิ ไม่ใช่ว่šแพรอย์šกไป แติ่เห้มือนที่น่¬ ่¬กลูšย์เป็นสำ่วนห้น¬งิึ ข้องิช่วิติเรšไปแลูÓว’ คุุณแพร

 ?? ??
 ?? ?? คุณุ แพรวา และคุณุ กอบกาญจน์์ สุรุ ยิ สุตัั ย์ วฒั น์วรางกรู สุภุ าพสุตรีี ตา่่ งรน์ุุ่่ ที่เ²ีี² ข้า้้ เรยีี น์ใน์ Wellesley College จะข้าดกเ็ พยีี งที่า่ น์ผู้หูู้้ ญงิิ น์ริิ มล สุรุุ ยิิ สุตัั ย์์ ศิษิ ยเ์์ กา่่ ดเีี ดน์่ ผู้ลู้ ว่ งลบัั
คุณุ แพรวา และคุณุ กอบกาญจน์์ สุรุ ยิ สุตัั ย์ วฒั น์วรางกรู สุภุ าพสุตรีี ตา่่ งรน์ุุ่่ ที่เ²ีี² ข้า้้ เรยีี น์ใน์ Wellesley College จะข้าดกเ็ พยีี งที่า่ น์ผู้หูู้้ ญงิิ น์ริิ มล สุรุุ ยิิ สุตัั ย์์ ศิษิ ยเ์์ กา่่ ดเีี ดน์่ ผู้ลู้ ว่ งลบัั
 ?? ?? (บน์ซ้า้ ย) คุณุ แมก่ บั คุณุ ลกู ยามพกั ผู้อ่ น์ใน์ตา่ งประเที่ศิ (บน์และซ้า้ ยสุดุ ) คุณุ น์อ้ งรว่ มแสุดงคุวามยน์ิ ดกี บั ลกู สุาว เน์อ่² งใน์โอกาสุที่คุ²ี ณุ แพรสุาำ เรจ็ การศิกึ ษาจาก Wellesley (ซ้า้ ย) คุณุ น์อ้ งกบั ลกู สุาวที่เ²ี จรญิ รอยตามคุณุ ยายและมารด­า ใน์การเรยี น์ Wellesley
(บน์ซ้า้ ย) คุณุ แมก่ บั คุณุ ลกู ยามพกั ผู้อ่ น์ใน์ตา่ งประเที่ศิ (บน์และซ้า้ ยสุดุ ) คุณุ น์อ้ งรว่ มแสุดงคุวามยน์ิ ดกี บั ลกู สุาว เน์อ่² งใน์โอกาสุที่คุ²ี ณุ แพรสุาำ เรจ็ การศิกึ ษาจาก Wellesley (ซ้า้ ย) คุณุ น์อ้ งกบั ลกู สุาวที่เ²ี จรญิ รอยตามคุณุ ยายและมารด­า ใน์การเรยี น์ Wellesley
 ?? ??
 ?? ??
 ?? ??
 ?? ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand