HELLO! Education

คชา มหาดำารงค์กุลั

หนุ่่hมรุ่นุ่่h ใหมhเจ้้าความคิด ผู้้ใช้้หลัักธรุ่รุ่มนุ่ำาทางช้ีวิต

-

ในฐานะที่เป็นหลานชายคน­แรกของครอบ­ครัว คุณโชกุน หรือ คชา มหาดาำ รงค์กุล ในวัยเด็กนั้น ไดช้ อื่ วา่ ซนและเฮย้ี วจนคณุ พอ่ -นฤพนธ์ เตชะวฒั นะ วรรณา และคุณแม่-เมย์ มหาดำารงค์กุล ต้องหาวิธี ปรามให้อยู่ สุดท้ายจึงเลือกพาไปเข้าวัดทุกสัปดาห์ ให้ใช้ชีวิตคลุกคลีกับธรรมะ ซึ่งกลายเป็นวิธีที่ได้ผล เด็กชายโชกุนเริ่มนิ่งและสุดท้ายเมื่ออายุได้ 9 ปี ก็ ตัดสินใจบวชเณรค­รั้งแรก นับตั้งแต่ตอนนั้นธรรมะ จึงเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเขา เป็นสิ่งที่หล่อ หลอมให้ทุกช่วงของการดำ­าเนินชีวิตผ่านไปได้อย่าง ราบรนื่ ในครงั้ นนี้ อกจาก HELLO! Education จะได้ คุยกับคุณโชกุนเรื่องธรรมะในชีวิตเขา ยังมีเรื่องราว การเรยี นและกจิ กรรมมากมาย­ทสี่ รา้ งประสบการณ์ ชีวิตและทาำ ให้เขาต่อยอดไปสู่อาชีพที่รักได้

ครั้งหนึ่งเขาคือเด็กวัด

ความที่คุณพ่อคุณแม่พยายามพาโช­กุนให้ไป คลุกคลีกับวัดและพุทธศาสนา ทำให้ตอนเด็กๆ เขา มีโอกาสได้ไปศึกษาธรรมะใน­หลากหลายสา­ย ไม่ ว่าจะเป็นวัดป่านานาชาติ วัดอัมพวัน (หลวงพ่อ จรัญ ฐิตธัมโม) จ.สิงห์บุรี สวนโมกขพลา­ราม รวม ถึึงวัดนาป่าพง (พุทธวจนะ) ทุกช่วงที่ปิดเทอมยังได้ ใช้ชีวิตแบบเด็กวัด ติดตามหลวงพี่ไปต่างจังหวัดทั้ง สกลนคร เชียงใหม่ ฯลฯ

“ผมบวชเณรครั้งแรกตอนอายุ 9 ขวบที่วัด ธรรมกาย แต่ครั้งที่ถึือเป็นจุดเปลี่ยนของตัวเองคือ ตอนบวชเณรค­รั้งที่ 2 ตอนผมอายุ 15 ปี ที่วัดเขาวง (ถึ้ำนารายณ์) จ.สระบุรี ซึ่งเป็นวัดสายหลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ แห่งวัดท่าซุง ที่ผมให้ความสนใจจึงขอไปบวช ตอน ม.3 ซึ่งทำให้เราได้อะไรกลับมาเยอะมาก ทั้ง เข้าใจตัวเอง เข้าใจอริยสัจ 4 การปล่อยวาง การอยู่ กับปัจจุบัน การเข้าใจธรรมะต่างๆ เรื่องสุขทุกข์ ช่วง นั้นมีความสุขมากเพราะเ­ป็นความสุขที่มาจากข้าง ใน จนทำให้ทุกวันน้ีผมเองก็ยังเดินอยู่บนเส้นทาง นี้ และเป็นสิ่งที่สร้างแรงบันดาลใจให้ผมมีไอเดีย ในการทำสิ่งต่างๆ ตั้งแต่ตอนนั้น” หนุ่มโชกุนกล่าว

หลังจากผ่านไป 10 ปี คุณโชกุนในวัย 25 ปียัง ตดั สนิ ใจเขา้ สรู่ ม่ กาสาวพสั ตรอ์ กี ครง้ั โดยการกลบั ไป บวชพระทวี่ ดั เขาวง “ตอนทตี่ ดั สนิ ใจกลบั ไปบวช เปน็ ชว่ งทผี่ มเปลยี่ นงานพอดี บวกกบั อายคุ รบเบญจเพส ด้วย เลยอยากบวช­ให้ตัวเองและคุณพ่อคุณแม่ เวลาหนงึ่ เดอื นทไี่ ดบ้ วช เปน็ ความรสู้ กึ ดมี ากเหมอื น ก่อน เราได้ทบทวนสิ่งที่เราเคยเข้าใจเมื่ออายุ 15 ได้ ทบทวนชวี ติ ทผี่ า่ นมาในชว่ ง 10 ปี นบั จากทบ่ี วชเณร”

คุณโชกุนเล่าว่า การมีธรรมะเป็นส่วนหน่ึงใน ชีวติ ช่วยเขาทงั้ เรอื่ งการเรยี น การทำงาน โดยเฉพาะ เวลาเครียดแล้วคิดหาทางแก้ไม่ออก เขาจะเลือก นั่งสมาธิให้จิตที่ฟุุ้Ńงซ่านนิ่งและสงบขึ้น ทุกครั้งเขา จะรู้สึกเหมือนได้ detox ความวุ่นวายในหัว และ สามารถึก้าวต่อไปได้อย่างมีพลังมากขึ้น เมื่อจิตใจ พรอ้ มจะทำสงิ่ ใดกส็ มดงั ทต่ี งั้ ใจ ไมต่ า่ งจากการเลอื ก เส้นทางการเรียนของตนเอง­ใหม่ตงั้ แต่อายุยังน้อย

ขอเป็็นเด็กอินเตอร์

ความชดั เจนทอี่ ยากเรยี นโรงเรยี นนานาชาตขิ อง คุณโชกุนเริ่มต้นตอนเรียนจบชั้นประถึมปีที่ 5 ตั้งแต่ เลก็ เขาเรยี นหลกั สตู ร EP (English Program) มาโดย ตลอด แตก่ ลบั รสู้ กึ วา่ อยากเรยี นรใู้ หม้ ากกวา่ นี้ และ อยากเรยี นโรงเรยี นอนิ เตอรเ์ พอื่ ทจี่ ะไดฝ้ กึ ภาษาแบบ เข้มข้นมากขึ้น

“พอขึ้น ป.6 ผมสอบเข้าโรงเรียนนานาชาติ รว่ มฤดไี ด้ โดยเขา้ ไดแ้ บบ Accelerate­d Math Class (ทำาคะแนนคณิตศาสตร์ได้ดี) แต่ยังต้องเริ่มเรียน ภาษาองั กฤษ ESL Program (English as a Second Language Program) เพิ่ม เพื่อที่เราจะตามเพื่อนๆ ในชนั้ ใหท้ นั ตอนนนั้ เปน็ ชว่ งทผี่ มพยายามและ­ตงั้ ใจ มาก สามารถึจบจาก ESL Program โดยใช้เวลาแค่ ปเี ดยี ว หลงั จากอยรู่ ว่ มฤดไี ด้ 3 ปี พอขนึ้ Year 10 จงึ ย้ายไปเรียนที่ Bangkok Patana School

“พอยา้ ยโรงเรยี นกต็ อ้ งปรบั ตวั อกี พกั ใหญ่ เพราะ สังคม และหลักสูตรที่เรียนก็แตกต่างกัน แม้แต่วิชา เลขทผี่ มทำคะแนนได­ด้ พอยา้ ยมาเรากส็ อบวดั ระดบั ได้แค่กลางๆ เท่านั้น คล้ายกับว่าเราไม่ได้เรียนวิชา พื้นฐานบางส่วนเนื่องจากเป็นคนละหลักสูตร ตอน นั้นครูที่สอนเลยช่วยติวพื้นฐานคณิตศาสตร์และให้ ทำโจทย์ต่างๆ กับเขาทุกเช้าก่อนเข้าเรียน สุดท้าย ภายในเดือนเดียวผมก็สอบได้ A+ จากที่ตอนแรก สอบได้แค่ C เท่านั้น แล้วยังทำให้ผมเลือกเรียน Further Math (คณิตศาสตร์ขั้นสูง) ตอนที่เรียน IB ด้วย จนถึึงตอนนี้ผมก็ยังนึกขอบคุณครูในใจทุกครั้ง อาจเรียกว่าเขาเป็นคนที่ช่วยจุดประกาย ‘ความเก่ง เลข’ ของผมเลยก็ว่าได้ สงิ่ เหล่านี้ยิ่งทำให้ผมรู้สึกว่า ครูที่ดีนั้นมีความสำคัญมากจริงๆ”

นอกจากการเ­รียนแล้วคุณโชกุนยังเป็นเด็ก กิจกรรมตัวยง หากเป็นเรื่องกีฬา เขาอยู่ในชมรม แบดมินตัน ส่วนเรื่องดนตรี ด้วยความที่เล่นไวโอลิน มาตงั้ แตเ่ ดก็ จนสามารถึสอบเกรด 8 ได้ Distinctio­n ซงึ่ เปน็ เกรดทสี่ งู ทสี่ ดุ สำหรบั นกั เรยี นไวโอลนิ และยงั ได้เป็น Concertmas­ter ให้กับวงออร์เคสตร้าของ โรงเรียน มีกิจกรรมอาสาส­มัครโดยเข้าไปช่วยสอน ภาษาองั กฤษใหเ้ ดก็ กำพรา้ หรอื เดก็ ทขี่ าดโอกาส รวม ถึึงเป็นตัวตั้งตัวตีในการตั้ง Mindfulnes­s Club ชวน เพื่อนๆ นั่งสมาธิตอนเที่ยง นอกจากนี้ตอนอยู่ Year 12 เขายังเคยสมัครไปฝึกงานที่ สวทช. (สำนักงาน พฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย­แี หง่ ชาต)ิ เรยี นรู้ เกี่ยวกับการนำ 3D-Printing มาสร้างกระดูกเทียม และไดส้ รา้ งธรุ กจิ sustainabl­e hard drive business กับเพื่อนๆ ชื่อว่า Ecotronics สิ่งต่างๆ เหล่าน้ี นอกจากจะเป็นประสบการณ์ท่ีดีกับตัวเขาแล้ว ยัง สร้างโปรไฟุ้ล์ที่แข็งแกร่งสำหรับการสมัครเข้าเรียน ในมหาวิทยาลัยอีกด้วย

ก้าวสู่่Òรว้ั มหาวิทยาลััย

ความที่ชอบวิชาคณิตศาสตร์เป็นทุน บวกกับ คุณตา (ชัยโรจน์ มหาดำรงค์กุล) ของโชกุนก็เรียน ด้านวิศวกรรมเครื่องกล และธุรกิจของครอบครัวก็ ทำให้เขาคลุกคลีกับโรงงานและ­เครื่องจักรกลมา ตั้งแต่เด็ก เมื่อก้าวเข้าสู่ระดับมหาวิทยาลัย เขาจึง เลือกเรียนในสายนี้เป็นอันดับหน่ึง “ความถึนัดและ พื้นฐานที่เรียนมา ประกอบกับกิจกรรมต่างๆ ที่ทำ ในโปรไฟุ้ล์ ทำใหเ้ ราเปน็ strongest candidate ตอน นั้นผมสมัครไปหลายที่มาก สมัครมหาวิทยาลัยที่ อังกฤษไป 5 แห่ง อเมริกา 10 แห่ง ซึ่งหนงึ่ ในนั้นที่ คาดหวังคือ Yale University ผมสมัครไปตั้งแต่รอบ Early Action และได้รับการตอบรับ” คุณโชกุนเล่า

Yale University นั้นตั้งอยู่ที่เมืองนิวเฮเวน รัฐ คอนเนกทิคัต เรียกได้ว่าเป็นเมืองมหาวิทยาลัยหรือ College City คณุ โชกนุ เลา่ วา่ ตอนทค่ี รอบครวั บนิ ไป สง่ นนั้ คณุ ตาถึงึ กบั ออกปากวา่ ชอบเมอื งนี้เนอื่ งจาก เป็นเมืองแห่งการศึกษาจริงๆ หนุ่มโชกุนจึงสามารถึ ทุ่มเทเวลาให้กับการเรียนและเพื่อนๆ ได้อย่างเต็ม ที่ตลอด 4 ปีเต็ม

“ลักษณะนิสัยของผมค่อนข้างเหมาะกับ Yale เพราะเดก็ Yale สว่ นใหญจ่ ะไมเ่ นน้ ไปทางวชิ าการสุดๆ แบบไปแข่งคณิตศาสตร์โอลิมปิก แต่เราเป็นพวก well-rounded ทำกิจกรรมเยอะม­าก ซึ่งเหมาะกับ ตัวผม” คุณโชกุนเล่า

ตอนสมัครเข้าเรียนคุณโชกุนเลือกสาขา Biomedical Engineerin­g (วศิ วกรรมชีวการแพทย)์ เนื่องจากสนใจเ­รื่องอุปกรณ์การแพทย์ ประกอบกับ กอ่ นหนา้ นสี้ นใจเรอื่ ง 3D-Printing ในการทำขาเ­ทยี ม แตเ่ มอื่ เขา้ ไปเรยี นจรงิ กลบั มกี ารปรบั รายวชิ าทเี่ รยี น เพื่อให้เหมาะกับตนเองมากที่สุด

“การเรียน Biomedical Engineerin­g ค่อนข้าง เน้นวิชาชีววิทยาและเคมี ซึ่งผมเองเก่งด้านฟุ้ิสิกส์ กับเลขมากกว่า เลยตัดสินใจเปลี่ยนสายมาเรียน Electrical Engineerin­g and Computer Science ในขณะเดียวกันด้วยความที่อเมริกาเป็นระบบ Liberal Arts เราสามารถึเปลยี่ นเมเจอรท์ เี่ รยี นได้ ผม จงึ ถึอื โอกาสเรยี นดา้ นอนื่ ๆ ทไี่ มไ่ ดเ้ กยี่ วกบั วศิ วะ เชน่ รัฐศาสตร์ ปรัชญา สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา สุดท้ายแล้วสิ่งที่ผมเรียนจึงผสมกันหลายด้าน แต่ มาจบที่ Engineerin­g Science ซึ่งรวมศาสตร์ ทางวิศวกรรมทั้งหมด เช่น Computer Science, Electrical Engineerin­g, Mechanical และอีก เมเจอร์ก็คือ History” ศิษย์ Yale ตัวกลั่นเล่า

สู่นุกกับกิจกรรมนอกห้องเรียน

คุณโชกุนเล่าว่าแต่ไหนแต่ไรมาเขาสนใ­จเรื่อง Social Entreprene­urship มากอยแู่ ลว้ ประกอบกบั มหาวทิ ยาลยั เองกส็ ง่ เสรมิ ชว่ งทเี่ รยี นเขาจงึ มโี อกาส ทำโครงการพิเศษต่างๆ มากมาย หนึ่งในนั้นคือ โปรเจกต์ของ Penta ที่มีส่วนช่วยในการบริจาค ขาเทียมให้กับผู้พิการจากประเ­ทศกำลังพัฒนา

“ที่ Yale เราถึูกสอนให้คิดโดยใส่ใจโลก ห่วงใย กบั ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ และหาวธิ สี รา้ งโลกทแี่ ตกตา่ งขนึ้ มา เช่น ไม่ว่าเราจะทำโป­รเจกต์สตาร์ทอัพใดๆ

‘ผมยังนึกขอบคุณคร่สู่มัยเรียน IB ในใจทุกครั้ง อาจเรียกวÒาเขาเป็็นคนที่ชÒวยจุดป็ระกาย ‘ความเกÒงเลัข’ ของผมเลัยก็วÒาได้ สู่ิ่งเหลัÒานี้ยงิ่ ทำาให้ผมร่้สู่ึกวÒา คร่ที่ดีนั้นมีความสู่ำาคัญมากจริงๆ’

ขนึ้ มา เราจะพยายา­มมองถึงึ แงม่ มุ ทางสงั คม และการ ตอบแทนสงั คมใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ ตวั ผมเองตอนทท่ี ำธสี สิ ก็ทำเกี่ยวกับอุปกรณ์ขาเทียม ซึ่งปัจจุบันได้รับการ พัฒนาให้มีต้นทุนท่ีถึูกลงในการผลิตขาเทียมแต่ละ ชิ้น ทำให้ผู้พิการสามารถึเข้าถึึงได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ ผมยังได้เข้าร่วมเป็น Chief Operating Officer ของ Penta Medical Recycling ซึ่งก่อตั้งโดยรุ่นพี่ที่ Yale ช่วยประสานงา­นในการบริจาคขาเทียมให้ประเทศ กำลังพัฒนา จากเร่ิมแรกท่ีมีเพียงแค่ประเทศเดียว คือเวียดนาม ปัจจุบันกระจายไปถึึง 20 ประเทศแล้ว รวมถึึงประเทศไทย­ด้วย สามารถึรีไซเคิลขาเทียมไป แลว้ คดิ เปน็ มลู คา่ กวา่ 50 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ (1,700 ล้านบาท)” คุณโชกุนกล่าว

งานหลักของโปรเจก­ต์ท่ีเขาทำนั้นคือการ รวบรวมขาเทียมมือสองสภาพดีท่ีได้รับบริจาคจาก สหรฐั อเมรกิ า สง่ ตอ่ ไปยงั ประเทศทขี่ าดแคลน สำหรบั ประเทศไทยเ­ขาทำงานรว่ มกบั โรงพยาบาลศ­ริ ริ าช และ โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร ในขณะเดียวกันเขาก็จัด ทำโปรเจกต์เกี่ยวกับ Social Entreprene­urship และ Healthcare Bootcamp ให้กับเด็กโรงเรียนนานาชาติ ในประเทศไท­ย เช่น Shrewsbury Internatio­nal School และ Bangkok Patana School เพื่อส่งเสริม ให้เด็กๆ ได้ฝึกหัดและเข้าใจขั้นตอนการทำง­านของ องค์กรช่วยเหลือสังคม

นอกเหนือจากงานเพ่ือสังคมแล้ว เขายังทำ กิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย ทั้งเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง

ATSA: Associatio­n of Thai Students in the United States of America ที่เริ่มทำมาตั้งแต่ปี 2018 ส่วนใน ด้านดนตรี กิจกรรมยามว่างที่เขาทำมาทั้งชีวิต สมยั เรยี นมหาวทิ ยาลยั เขาสมคั รเขา้ รว่ มวง Davenport Pops Orchestra ในฐานะมือไวโอลิน ร่วมเล่นคอนเสิร์ต กับวงทุกๆ เทอม เช่นเดียวกับการสมัครเป็นนักร้อง ประสานเสยี ง ในคณะประสา­นเสยี ง Acapella Group ของมหาวิทยาลัย

“คุณพ่อผมท่านเคยบอกว่า ทำไมไม่โฟุ้กัสอย่าง ใดอย่างหนึ่ง แต่ผมคิดว่าการทำหลาย­ๆ อย่างสนุก ดี ทำให้เราไม่เบื่อ ยิ่งถึ้าเป็นสิ่งที่ผมครีเอตขึ้นมาเอง อย่างงานของ ATSA และ Penta ผมยิ่งชอบอยแู่ ล้ว เราไม่ได้รู้สึกว่าเป็น ‘งาน’ แต่เป็นสง่ิ ที่เราอยากทำ แต่ บางทีก็อาจจะเยอะไ­ปสักนิด ต้องแบ่งเวลาดีๆ เพราะ ไม่อย่างนั้นจะเครียดได้”

โลักการทำางาน

หลงั จากเรยี นจบมหาวทิ ยาลยั เขาทมุ่ เททำ Penta Medical Recycling อยหู่ นงึ่ ปเี ตม็ จนสามารถึขยายไป ได้มากกว่า 20 ประเทศ จากนั้นจึงเดินทางกลับบ้าน เพอื่ มาชว่ ยวางกลยทุ ธธ์ รุ กจิ ของครอบครวั อกี ราวหนงึ่ ปี

“ช่วงนั้นผมสนใจเร่ือง Blockchain มากขึ้น และคิดว่าจะสามารถึนำมาประยุกต์เข้ากับเครื่องมือ ทางการแพทย์ได้อย่างไร พอศึกษาเรื่องนี้มากขึ้นจึง มีโอกาสเป็น Product Manager ที่ Upbit Thailand ชว่ ยทำดา้ น Research and Analytics ประมาณปคี รง่ึ ที่นั่นช่วยเปิดโลกการทำโ­ปรเจกต์ที่ต้องมองภาพรว­ม ตั้งแต่บนลงล่างให้ผมได้มากพอสมควร จากนั้นผม ยา้ ยมาอยทู่ KX (Kasikorn X) ในฐานะ Senior Investment Associate ดูแลด้าน Blockchain Investment และ AI ดว้ ย เกอื บหนง่ึ ปที ผี่ า่ นมาไดเ้ ดนิ ทางเยอะมาก ทั้งอินเดีย สิงคโปร์ อังกฤษ ฝรั่งเศส ฮ่องกง จีน เพราะ เราต้องไปหาดีลในต่างประเทศ”

คุณโชกุนยังได้รับเลือกเป็นตัวแทนประเทศ­ไทย เข้าร่วมการประชุม World Economic Forum ที่ผ่าน มาอีกด้วย ซึ่งผู้ที่ได้รับเลือกให้เข้าร่วมล้วนแต่เป็น ตัวแทนหรือผู้นำคนสำคัญของโลกในด้านต่างๆ มา พูดคุยเกี่ยวกับปัญหาที่โลกกำลังเผชิญ ไม่ว่าจะเป็น เรื่องโลกร้อน ปัญหาสุขภาพจิต หรือความปลอดภัย ด้านอาหาร ซึ่งธีมในปีที่เขาไปร่วมนั้นคือ Entreprene­urship and Innovation as Driving Forces of the Global Economy ซึ่งเขายอมรับกับเราว่าเป็นงานท่ี เปิดโลกให้เขาจริงๆ

ล่าสุดคุณโชกุนได้รับมอบหมายให้รับหน้าที่ Co-Lead Entreprene­ur in Residence/New Ventures Fund ที่ KX ซึ่งยังอยู่ในสายงานด้าน สตาร์ทอัพที่เขาสนใจ และยังอยากหาควา­มรู้และ ประสบการณ์ เพื่อว่าในอนาคตจะ­สามารถึต่อยอดไป สงู่ านทเี่ ขาอยากรเิ รมิ่ ได้ นนั่ คอื สตารท์ อพั ของตนเองท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั Technology + Social Entreprene­urship สามารถึตอบแทนสังคมได้ ในขณะเดียวกันก็มีกำไร เพยี งพอทจี่ ะพาธรุ กจิ ใหเ้ ดนิ หนา้ ตอ่ ไดอ้ ยา่ งมนั่ คง

 ?? ??
 ?? ?? คุณุ คุชา มหาดำาำ รงคุกุ์ ลุ หนุ่มhุ นุ่อ้ ยผู้ม้้ ธี รรมะ ในุ่หวั ใจ บัณั ฑิติ Yale University ปัจั จบัุ นุ่ั เขาเปันุ่็ Co-Lead Entreprene­ur Residence/New Ventures Fund ที่ี² KX คุอยดำแ้ ลที่างดำา้ นุ่สตารที่์ อพั ที่ส²ี นุ่ใจ
คุณุ คุชา มหาดำาำ รงคุกุ์ ลุ หนุ่มhุ นุ่อ้ ยผู้ม้้ ธี รรมะ ในุ่หวั ใจ บัณั ฑิติ Yale University ปัจั จบัุ นุ่ั เขาเปันุ่็ Co-Lead Entreprene­ur Residence/New Ventures Fund ที่ี² KX คุอยดำแ้ ลที่างดำา้ นุ่สตารที่์ อพั ที่ส²ี นุ่ใจ
 ?? ?? (บันุ่ซ้า้ ยและบันุ่) คุรอบัคุรวั มหาดำาำ รงคุ์กุุลบัินุ่ไปัแสดำง คุวามยนุ่ิ ดำกุี บัั บัณั ฑิติ ใหมกุh นุ่ั พรอ้ มหนุ่า้ จากุซ้า้ ย คุณุ พอh นุ่ฤพนุ่ธ์ เตชะวฒั นุ่ะวรรณา คุณุ นุ่า้ เกุรซ้ คุณุ ตาชยั โรจนุ่์ คุุณยายกุลอเรีย คุุณโชกุุนุ่ คุุณแมhเมย์ และคุุณชฎา มหาดำาำ รงคุกุ์ ลุ นุ่อ้ งสาวคุนุ่ รอง (ซ้า้ ยสดำุ ) กุบัั เพอ่² นุ่รวh ม โคุรงกุาร Penta Medical Recycling ซ้ง่² กุอh ตง³ั โดำยรนุ่hุ พ²ี ที่ี² Yale ของคุณุ โชกุนุุ่ (ซ้า้ ย) ขาเที่ียมที่ี²ไดำ้รับับัริจาคุจากุ สหรัฐฯ ดำ้วยโคุรงกุารที่ี² คุณุ โชกุนุุ่ และรนุ่hุ พช²ี วh ยกุนุ่ั ที่าำ ปััจจุบัันุ่สามารถกุระจายไดำ้ ถง่ ผู้พ้้ กุิ ารในุ่ 20 ปัระเที่ศแลว้
(บันุ่ซ้า้ ยและบันุ่) คุรอบัคุรวั มหาดำาำ รงคุ์กุุลบัินุ่ไปัแสดำง คุวามยนุ่ิ ดำกุี บัั บัณั ฑิติ ใหมกุh นุ่ั พรอ้ มหนุ่า้ จากุซ้า้ ย คุณุ พอh นุ่ฤพนุ่ธ์ เตชะวฒั นุ่ะวรรณา คุณุ นุ่า้ เกุรซ้ คุณุ ตาชยั โรจนุ่์ คุุณยายกุลอเรีย คุุณโชกุุนุ่ คุุณแมhเมย์ และคุุณชฎา มหาดำาำ รงคุกุ์ ลุ นุ่อ้ งสาวคุนุ่ รอง (ซ้า้ ยสดำุ ) กุบัั เพอ่² นุ่รวh ม โคุรงกุาร Penta Medical Recycling ซ้ง่² กุอh ตง³ั โดำยรนุ่hุ พ²ี ที่ี² Yale ของคุณุ โชกุนุุ่ (ซ้า้ ย) ขาเที่ียมที่ี²ไดำ้รับับัริจาคุจากุ สหรัฐฯ ดำ้วยโคุรงกุารที่ี² คุณุ โชกุนุุ่ และรนุ่hุ พช²ี วh ยกุนุ่ั ที่าำ ปััจจุบัันุ่สามารถกุระจายไดำ้ ถง่ ผู้พ้้ กุิ ารในุ่ 20 ปัระเที่ศแลว้
 ?? ??
 ?? ??
 ?? ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand