HELLO! Education

พ่รวิชญ์์ พลัอย์นัำาพลั

นัักแสดง & นัักฉุุกเฉุินัการแพทย์์ สองบทบาทเพ­ราะใจรักของ

-

เมื่ออยู่หน้ากล้องในกองถ่ายละคร คุณพี-พีรวิชญ์ พลอยนำาพล คือนักแสดงที่ออร่าของเขาเปล่ง ประกายด้วยการสวมบท­บาทของตัวละครที่ได้รับ ซีรี่ีส์วายเรื่องล่าสุดที่เพิ่งจบไป คือ ‘Lapluie The Series ฝนตกครั้งนั้นฉันรักเธอ’ เป็นอีกหนึ่งครั้งที่ ทำาให้ชื่อของเขาเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ด้วยเสียงตอบ รับจากคนดูที่ชื่นชอบซีรี่ส์นี้ และเขายังคงตื่นเต้น เสมอเมื่อได้รับโอกาสใหม่ๆ ที่เข้ามาท้าทาย

ทว่าความตื่นเต้นในการสวมบ­ทนักแสดงนั้น แตกต่างไปจากควา­มตื่นเต้นบนรถฉุกเฉิน เพราะ ทุกขณะเมื่อคุณพีประจำการอยู่บนรถ เพื่อทำหน้าที่ ‘นักฉุกเฉินการแพทย์’ ช่วยเหลือและดูแลชีวิตของ ผูู้้ประสบเหตุ ซงึ่ ทุกวินาทีคือเวลาที่ต้องเดิมพัน ไม่มี ความรู้สึกใดสำคัญเท่าภารกิจที่อยู่ตรงหน้า

“อะไรก็ตามที่เป็นเรื่องฉุกเฉินมันมีความต่ืนเต้น อยู่แล้ว แต่ภายใต้ความตื่นเต้นนั้นเราต้องละเอียด กับมัน เพราะแค่หน่ึงนาทีมันสามารถพลิกความ เป็นความตายได้เลย ชีวิตคนที่อยู่ตรงหน้าทำให้เรา ลืมตัวเองไปเลย”

นัักฉุุกเฉุินัการแพทย์์ ท่¬กำาลัังเปลั่งประกาย์ในัวงการ บัันัเทิง

นักฉุกเฉินการแพทย์ หรือนักปฏิิบัติการแพทย์ ฉุกเฉิน คือวิชาชีพที่เพิ่งมีในเมืองไทยไม่นาน คุณพี ซึ่งเรียนจบด้านนี้มาโดยตรงเล่าให้ฟัังว่า “ในต่าง ประเทศอย่างอังกฤษ อเมริกา รัสเซีย มีอาชีพนัก ฉุกเฉินการแพทย์ หรือ Paramedic มานานหลาย สบิ ปแี ลว้ แตไ่ ทยเราเพงิ่ มเี มอื่ สบิ กวา่ ปมี านเี้ อง หนา้ ที่ ของนกั ฉกุ เฉนิ การแพทยค์ อื ออกไปกบั รถแอมบแู ลนซ์ ดูแลผูู้้ป่วยฉุกเฉินท้ังที่บ้าน หรือบนท้องถนนเมื่อ เกิดอุบัติเหตุ ช่วยเหลือคนไข้ให้รอดพ้นจากวิกฤติ ที่อันตรายถึงชีวิต แล้วนำคนไข้ส่งต่อไปยังคุณหมอ ฉุกเฉินในโรงพยาบ­าลอีกทีหนึ่ง

“สมัยที่ยังไม่มีนักฉุกเฉินการแพทย์ คนที่จะ ต้องไปกับรถแอมบูแลนซ์คือพยาบาลหรือหมอ ซึ่ง หน้าที่หลักของเขาคืออยู่ในห้องฉุกเฉินคอยช่วยชีวิต คนไข้ ทำให้ไม่ได้ฝึกเพื่อมาทำงานบน­รถฉุกเฉินโดย เฉพาะ และมันเป็นการเพิ่มภาระให้คุณหมอและ พยาบาล วิชาชีพนี้เลยถูกเพิ่มเข้ามา นักฉุกเฉินการ แพทย์ไม่ใช่หมอ แต่เราทำหัตถการด้านฉุกเฉินได้ เหมอื นหมอ เชน่ ปมัő หวั ใจ ชอ็ ตไฟัฟัา้ หวั ใจ ใสท่ อ่ ชว่ ย หายใจ เจาะปอด”

ย้อนกลับไปสมัยเรียนมัธยมปลายเมื่อต้องเลือก ทางเดินชีวิตของตัวเองในการเ­รียนต่อมหาวิทยาลัย คณุ พเี ลา่ วา่ เขามสี องเสน้ ทางใหต้ ดั สนิ ใจ หนงึ่ คอื เรยี น นเิ ทศศาสตรเ์ พราะมคี วามสนใจในอ­ตุ สาหกรรมบนั เทงิ แต่อีกใจก็เอนเอียงให้กับสายสุขภาพ เพราะมีแรง บนั ดาลใจคอื นอ้ งชายซงึ่ เปน็ เดก็ พเิ ศษทเี่ ขาอยากดแู ล

“ผู้มเรียน ม.ปลายที่โรงเรียนเอกชนในส­ามพราน นครปฐม ทสี่ นใจจะเรยี นนเิ ทศฯ เพราะตอนนน้ั เรมิ่ สนใจ วงการบนั เทงิ มโี มเดลลงิ่ มาตดิ ตอ่ ไดไ้ ปแคสตง์ าน และ ผู้มชอบดู behind the scene ดแู ลว้ เพลนิ แตอ่ กี ใจกเ็ หน็ วา่ นกั แสดงหลายคน­เขากไ็ มไ่ ดเ้ รยี นนเิ ทศฯ กนั มา และ ทำอาชีพอื่นเป็นหลัก เลยคิดว่าลองดูวิชาชีพอ่ืนแล้ว ทำงานบนั เทงิ เปน็ งานอดเิ รกไปดว้ ยกไ็ ด้

“ครอบครัวไม่ได้วางไว้ว่าผู้มต้องเรียนอะไร คณุ แมบ่ อกวา่ ถา้ สนใจวงการบ­นั เทงิ เรยี นนเิ ทศฯ กไ็ ด้ แตค่ ณุ พอ่ บอกวา่ ถา้ ไมร่ จู้ ะเรยี นอะไรกใ็ หเ้ ลอื กงานที่ มีใบประกอบวิชาชีพ เพราะเท่ากับสร้างความมั่นคง ใหเ้ ราไดร้ ะดบั หนงึ่ ตอนนนั้ ผู้มไปสอบกายภ­าพบำบดั แต่ไม่ติด เสียใจมาก และมีแวบหนึ่งที่ผู้มอยากเป็น นักกฎหมาย สอบได้นิติศาสตร์ แต่เป็นมหาวิทยาลัย ที่ไม่อยากไปเรียน กับแอดมิสชั่นติดวิศวะอีกที่หน่ึง คิดว่าไปเรียนก่อนก็ได้ แล้วปีหน้าสอบใหม่ก็ไม่แย่ เพราะใจเรา­อยากเรียนสายสุขภาพจริงๆ”

ดเู หมอื นโอกาสจะเป­น็ ใจใหค้ นทมี่ คี วามตงั้ ใจจรงิ เพราะในเวล­านนั้ ทางคณะแพทย­ศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดรับนักศึกษาสาขา วชิ าปฏิบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตร์ บัณฑิิต เพมิ่ เติมหลังรอบแอดมิสชั่น

“ตอนนั้นสาขานี้เพิ่งเปิดได้ปีเดียว ผู้มเป็นรุ่นที่ สอง เขาเปิดรับเพิ่มสคี่ น ผู้มยื่นสมัครเพราะเกร­ดถึง วันสัมภาษณ์ผู้มตั้งใจทำสไลด์ ซ้อมพูดหน้ากระจก เพื่อพรีเซนต์ภายในห้านาที เล่าถึงแพสช่ันที่ทำให้ ผู้มอยากเป็นนักฉุกเฉินการแพทย์ สุดท้ายก็ติด และ เขาเพิ่มโควตาเป็นเจ็ดคน อาจารย์บอกว่าปีนั้นมีคน น่าสนใจหลายค­น ทั้งสาขามีสามสิบห้าคน ผู้มเป็น คนที่สามสิบสี่”

คุณพีเล่าเสริมว่า สาขานี้ไม่ได้รับเฉพาะวุฒิิ มัธยมปลาย แต่เปิดประตูให้คนที่ทำงานกู้ชีพหรือ กภู้ ยั มากอ่ น สามารถสอบเ­ขา้ เรยี นเพอื่ เปน็ นกั ฉกุ เฉนิ การแพทย์ได้เช่นกัน

“เป็นหลักสูตรสี่ปี การเรียนพื้นฐานจะเหมือน กับเรียนแพทย์เลย แต่ไม่ลึกเท่าแพทย์ ได้เรียนกับ อาจารย์ใหญ่เพื่อเรียนกายวิภาคแต่ไม่ได้ผู้่า แต่พอ ชั้นคลินิกเราเรียนเรื่องฉุกเฉินเหมือนแพทย์ เป็นการ เรียนกู้ชีพขั้นสูง”

ระหว่างที่เรียนมหาวิทยาลัย คุณพีอยู่ในสังกัด โมเดลลิ่งและมีผู้ลงานในวงกา­รบันเทิงอยู่บ้างแล้ว จากงานถ่ายแบบ ถ่ายโฆษณา กระทงั่ ระหว่างกำลัง เรียนอยู่ชั้นปีที่ 3 เส้นทางสู่วงการก็ผู้่านเข้ามาด้วย ผู้ลงานเรอื่ งแรก ‘YYY มนั เวอ่ รน์ ะ’ และอน่ื ๆ จนลา่ สดุ Lapluie The Series ทรี่ บั บทนำคกู่ บั คณุ ไตเตลิ -ธนธร เสนางคนิกร

“อาจารย์ก็เข้าใจ เขาคงมองว่าถ้าเรามีชื่อเสียง ขึ้นก็จะได้ช่วยโปรโมตแล­ะเผู้ยแพร่ความรู้ต่างๆ ให้ กบั ประชาชนได้ อยา่ งเรอ่ื งการปฐมพยา­บาลเบอื้ งตน้ เรื่องซีพีอาร์ ตอนนี้มีคลิปท่ีผู้มสอนซีพีอาร์เต็มยูทูบ เลย รู้สึกว่าตัวเองมีประโยชน์” เขาเล่าพลางยิ้มเมื่อ นกึ ถงึ ชว่ งเวลาและปร­ะสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั กอ่ นเรยี นจบ

ความสุุขท่¬เติิมเติ็มจากการทำา­งานั

ความโชคดีของคุณพี คือการได้ทำงานที่รัก และสนใจควบ­คู่ไปด้วยกัน ตั้งแต่วันที่ยังเรียน มหาวิทยาลัย จนปัจจุบันทเี่ ขาเรียนจบแล้ว เขาก็ยัง คงเลือกที่จะทำทั้งสองอย่างโดยไม่คิดวางมือจาก ด้านใดด้านหนึ่ง ที่สำคัญคืองานของเขา­ไม่เพียงเติม เต็มความสุขให้ตัวเอง แต่ยังมอบความสุขให้คนอ่ืน ด้วย ทั้งผูู้้ชมที่ติดตามงานแสด­ง และคนไข้ท่ีเขาได้ ช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉิน

“ผู้มเริ่มออกไปกับรถฉุกเฉินตั้งแต่เรียนปีสอง เปน็ วชิ าเลอื กใหเ้ ราออกไปนอก­สถานที่ ผู้มอยากรวู้ า่ กอ่ นทจี่ ะเปน็ ขนั้ แอดวานซส์ ง่ โรงพยาบาลพ­ๆี่ มลู นธิ เขาทำงานยังไง เราจะชอบม้ัย ไปเทสต์ตัวเองดู ไป กบั มลู นธิ ทิ กี่ าญจนบรุ โอโ้ ห!!บหʼnู นกั กวา่ โรงพยาบาล อีก (หัวเราะ) เราก็ไปเป็นผูู้้ช่วย ไปจับงู ไปทำแผู้ล นักเรียนรถล้ม แต่มันเป็นการตอบตัวเองได้ว่าสนุก เราเลือกถูกแล้ว

“วันที่ผู้มจำได้แม่นยำ คือวันฝึกงานวันสุดท้าย ของการเรียนปีสี่ ที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาล­มหาราช นครศรีธรรมราช คือฝึกงานวันนี้แล้วจบเลย เป็น วันที่รับสี่เคสต่อกันในกะเดียวคือแปดชั่วโมง เคส สุดท้ายมาตอนใกล้จะลงเวรแล้ว คนไข้มีภาวะหนัก หวั ใจหยดุ เตน้ แลว้ เราสามารถก­หู้ วั ใจทหี่ ยดุ เตน้ ของ เขา จากไม่มีชีพจรแล้วให้กลับมามีชีพจรอีกครงั้ มัน เป็นวันที่อิ่มเอมไปด้วยมวลความสุขต่างๆ ทั้งการได้ ทำงาน การได้อยู่กับพี่ๆ ทเ่ี ราสนิท ทุกอย่างในวันนั้น มัน fulfill เรา เป็น best day ของเรา

“ทุกเคสที่เข้ามาคือความประทับใจ บางเคส คนไขเ้ หนอื่ ยหอบ รสู้ กึ ไมส่ บายอะไรมา เราไปรบั แลว้ ทำใหเ้ ขาหาย หรอื เคสนำ้ ตาลตก ปลกุ ไมต่ น่ื เราไปถงึ

บา้ นเขา ใหย้ าตวั เดยี วหรอื สองตวั แลว้ เขาตน่ื ขนึ้ มาเป็นปกติ เราภูมิใจเหมือนกันหมดไม่ว่าเคส นั้นจะยากหรือง่าย”

คณุ พเี ลา่ ถงึ ภารกจิ ของนกั ฉกุ เฉนิ การแพทย์ เพิ่มเติมอีกว่า

“การทำงานขอ­งเราจะแบ่งออกเป็นสามกะ กะละแปดชั่วโมง คือเวรเช้า บ่าย ดึก หน้าที่ของ เราจะมีทั้งที่ออกไปกับรถ และอยู่ที่ศูนย์สั่งการ ซึ่งเวลามีเหตุฉุกเฉิน คนโทร.เข้า 1669 จะไป ตดิ ทศี่ นู ยใ์ หญค่ อื กรงุ เทพฯศนู ยใ์ หญจ่ ะดวู า่ เกดิ เหตุใกล้กับโรงพยาบาล­ไหน ก็จะจ่ายงานตาม โรงพยาบาลนั้น

“เท่าที่ทำงานนี้มา สำหรับผู้มเคสอุบัติเหตุ ที่เกิดบ่อยสุดจะเป็นตอนเช้า เพราะตอนเช้าคน จะเร่งรีบ ระบบจราจรค่อนข้างแน่น ส่วนเร่ือง ทำงานควบกะ­เปน็ เรอื่ งปกติ เมอ่ื คนื ผู้มกค็ วบ กะ เมอื่ วานนกี้ เ็ ขา้ เวรเชา้ บา่ ย เจด็ โมงเชา้ ถงึ

หา้ ทมุ่ บางทวี า่ งๆ ผู้มกจ็ ะรบั เวร สนกุ ครบั แตก่ เ็ หนอื่ ย”

ในความสนุก ความเหนื่อย คุณพี ยอมรับว่ามาพร้อมกับความกดดัน และ

ทกุ คนทอี่ ยหู่ นา้ งานกต็ อ้ งพรอ้ มรบั มอื กบั ทุกสถานการณ์

“เราต้องมีความพร้อมตลอดเวลา ไป ช้าหนึ่งนาทีสองนาทีอาจจะปőมั หัวใจไม่ขึ้น แล้วก็ได้ กลับกันถ้าเราไปเร็วคนไข้ก็รอด หรือทำยังไงถ้าหากคนไข้ไม่กลับมา เราก็ต้อง คุยกับญาติ เพราะอาจจะ­มีเรื่องโรคประจำ­ตัว ต่างๆ หรืออาการท่ีหนักเกินไป สิ่งที่ยากที่สุด สำหรับผู้มคือความกดดัน เพราะมันคือความ เปน็ ความตายทกุ วนั นผู้ี้ มกย็ งั ตน่ื เตน้ อยู่เพราะ ประสบการณ์เรายังไม่ได้เยอะ แต่เราก็ต้อง พยายามรวบร­วมสติให้ได้มากที่สุด”

และการทำงา­นบันเทิงควบคู่ไปด้วย ทำให้ คณุ พตี อ้ งจดั สรรเวลาใหล้ งตวั เพอื่ ทจ่ี ะไดท้ ำงาน ที่รักไปพร้อมกันได้

“ทกุ วนั นที้ ผู้ี่ มขนึ้ เวรจะเปน็ พารต์ ไทม์ ผู้ม เลือกขึ้นสองหรือสามเวรแล้วแต่สัปดาห์ ถ้ามีงานในวงการ­ติดต่อมาก็จะหาคิว ที่ไม่ชนกับวันที่ต้องขึ้นเวร ถ้าคิวชน

กนั จรงิ ๆ เลยี่ งไมไ่ ด้ กต็ อ้ งแลกเวร หรือขายเวรกับเพื่อน

“ในอนาคตอาจ­มีช่วง เวลาที่มีเหตุให้ต้อง ลดหน้าที่หนึ่งเพื่อ ไปโฟักัสอีกหน้าที่

หนึ่งมากขึ้น แต่

ผู้มคดิ วา่ ยงั ไงกจ็ ะ ทำสองวิชาชีพนี้

ควบคู่กันไป อยาก ให้ตัวเองมีความ

สขุ โดยทยี่ งั สามารถ ทำทั้งสองงานนี้ไป

ด้วยกันได้ เหมือนกับ ที่ทำอยู่ตอนนี้”

‘อะไรก็ติามท่¬เป็นัเร่องฉุุกเฉุินั มันัมค่ วามติ่นัเติ้นัอย์่แลั้ว แติ่ภาย์ใติ้ความติ่นัเติ้นันัันั เราติ้องลัะเอ่ย์ดกับัมันั เพราะแค่หนั่¬งนัาท่สุามารถ พลัิกความเป็นัความติาย์ได้เลัย์’

 ?? ??
 ?? ?? คุณุ พีรี วิชิ ญ์์ พีลอยนำŸำำ พีล หรอื พีี นำกั ฉุกุ เฉุนำิ กŸรแพีทย์์ ทโี²ี² ด่ง่่ ด่งั จŸกผลงŸนำในำวิงกŸรบันำัั เทงิ หลŸยเรอื² งด่วิ้้ ยกนำัั ปัจั จบัุุ นำั เขŸยงั คุงชวิ่่ ยชวิี ติ คุนำไขอ้ ยŸ่ งขมีขี มีนำั (ซ้Ÿ้ ยสุดุุ่ ) รบััั รŸงวิลั เด่อืื นำมีหŸวิทิิ ยŸลยั (ซ้Ÿ้ ย) สุŸธิติิ กŸรปัมีÓÓัั หวิั ใจคุนำไขฉุ้้ กุุ เฉุนำิ
คุณุ พีรี วิชิ ญ์์ พีลอยนำŸำำ พีล หรอื พีี นำกั ฉุกุ เฉุนำิ กŸรแพีทย์์ ทโี²ี² ด่ง่่ ด่งั จŸกผลงŸนำในำวิงกŸรบันำัั เทงิ หลŸยเรอื² งด่วิ้้ ยกนำัั ปัจั จบัุุ นำั เขŸยงั คุงชวิ่่ ยชวิี ติ คุนำไขอ้ ยŸ่ งขมีขี มีนำั (ซ้Ÿ้ ยสุดุุ่ ) รบััั รŸงวิลั เด่อืื นำมีหŸวิทิิ ยŸลยั (ซ้Ÿ้ ย) สุŸธิติิ กŸรปัมีÓÓัั หวิั ใจคุนำไขฉุ้้ กุุ เฉุนำิ

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand