HELLO! Education

ฌาดาพรฑ์์ คอมัันตร์

-

เลืือกตััวตันที่่²ใช่่ด้้านสถาปัตัั ย์์ University of Bath มหาวิทยาลััยระดัับท็อปของอังกฤษ ‘ใจอยากเรียน science บวก art แลืะก็รู้้สึกด้้วย์ว่าสถาปัตัั ย์์เน่²ย์เปั็นส่²งที่่²ตััวเองช่อบจรู้่งๆ จังๆ’

วันที่ HELLO! Education ฉบับนี้ถึงมือคุณ ผู้อ่าน น้องศิ-ฌาดาพรฑ์ คอมันตร์ ลูกสาว คนโตของคุณพ่อโอ๊ค-อรรถดา คอมันตร์ นักธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์และนักสะสมศิลปวัตถุโบราณ ภาพถ่ายเก่า และเครื่องเรือนเอเชียโบราณ เจ้าของ แกลเลอรี่ G๑๑๑ และ Villa Musée และคุณแม่ สมฤดี (จุลชาต) คอมันตร์ น้องศิกาำ ลังจะเริ่มรำ่าเรียน หลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตร­อ์ ยา่ งเตม็ ตวั ในรวั้ ของ University of Bath มหาวิทยาลัย Top 5 ของสหราช อาณาจักร ที่เธอค้นพบตัวเองว่าชอบศาสตร์แขนงนี้ หลังเรียนจบไฮสคูล ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจบวกกับ พื้นฐานการมีผลการเรียนระดับท็อปทุกวิชา ปีการ ศึกษานี้น้องศิจึงสามารถเข้าเป็นนักเรียนสถาปัตย์ ของ University of Bath

สูตรความสำเร็จด้านการเรียนดังใจหวังของ น้องศิ เธอบอกว่าเพราะทั้งคุณพ่อคุณแม่ซััพพอร์ต ทุกอย่าง ไม่เคยบังคับและให้ค้นหาตัวเองว่าชอบ อะไรแล้วเลือกเดินไปเส้นทางนั้น “คุณพ่อคุณแม่ไม่ เคยบงั คบั วา่ หนตู อ้ งเรยี นหมอหรอื ตอ้ งเรยี นอะไร เหน็ ว่าลูกชอบอะไรก็ไปทางด้านนั้น” ซัึ่งฟากฝั่ัŏงคุณแม่ สมฤดีเล่าเสริมว่า “เรามองว่าให้เด็กๆ เขาได้ทดลอง แลว้ คน้ เจอตวั ตนจรงิ ๆ เปน็ สงิ่ ทดี่ มี าก อยา่ ปดิ กนั้ เขา ด้านการศึกษา เช่น ลูกเรียนเก่งแล้วต้องไปตามทาง เดินของเด็กเก่ง ว่าต้องเรียนหมอ หรือวิศวะ แม่ไม่ บังคับเลย ทุกคนเคยถามเ­ราว่า ลูกเรียนเก่งขนาดนี้ A Star ทุกตัว ซังึ่ ไม่ใช่เรียนง่าย แล้วไม่บังคับลูกเลย เหรอ เรากบ็ อกวา่ ...ไม่ เอาทเ่ี ขามคี วามสขุ อยากเรยี น อะไร ทำอะไรก็ปล่อยเลย”

เรียกว่าไม่เคยขีดกรอบชีวิตและปล่อยให้ลูกทั้ง สามคนได้เลือกทำสิ่งที่ใช่ แต่ไม่เพียงแค่นั้น เพราะ ทุกก้าวเดินที่เด็กๆ ได้มีโอกาสเลือกนั้นต่างมาพร้อม กบั คำวา่ ‘วนิ ยั ’ ทคี่ ณุ สมฤดเี ชอื่ วา่ “เดก็ ๆ ถา้ มรี ะเบยี บ วนิ ยั ในชวี ติ มกั จะประสบควา­มสำเรจ็ คอ่ นขา้ งสงู แลว้ ตวั นอ้ งศกิ ม็ วี นิ ยั กบั ตวั เองมาก เลยไมค่ อ่ ยหว่ งเขาใน เรอื่ งการจัดการตัวเอง”

“ถ้าเป็นเรื่องเรียน หนูก็เป็นคนขยันอยู่นะ (ยิ้ม) ปกติไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องเรียนอะไรค่ะ ตอนเรียน ไฮสคูลที่ Concord College ในอังกฤษก็ต้องอ่าน หนังสือทุกวัน เพราะมีสอบทุกวันเสาร์ และโรงเรียน มีการแข่งขันสูง เพราะเด็กทุกคนเก่งหมดเลย

“สำหรับการเรียนในห้องเรียน ถ้ามีอะไรที่คิดว่า อยากกลับไปอ่านก็จะไปอ่านอีกที เหมือนเลิกเรียน เขาจะมี Prep ที่เหมือนเป็นช่วงเวลาให้เด็กกลับไป อ่านทบทวนสิ่งที่เรียนในวันน้ี ซัึ่งปกติอยู่ไทยก็ทำ เปน็ ปกตอิ ยแู่ ลว้ จดทกุ อยา่ งทเี่ ราควรจะจำแ­ลว้ กลบั ไปอ่านสิ่งที่จดไว้ ไปทำความเข้าใจอีกครั้ง สำหรับ ตัวเองการอ่านโน้ตของคนอื่น ก็ไม่เข้าใจเท่ากับเรา เขียนเองจดเอง­ค่ะ”

และดว้ ยการเรยี นการสอนใน Concord College เนน้ ดา้ นวชิ าการทคี่ ณุ พอ่ โอค๊ บอกวา่ “เหมอื นเตรยี ม อุดมภาคอังกฤษที่เอาหัวกะทิของหลายๆ ประเทศ ในโลกไปรวม­กันที่นี่ ไม่ได้เรียนกับคนอังกฤษอย่าง เดียว เด็กอินเตอร์ก็มีอยู่หลายประเทศ เพื่อนเขามี ทั้งจีน แอฟริกัน สิงคโปร์ ฯลฯ” แต่น้องศิที่รู้ตัวเอง แลว้ วา่ เปน็ คนชอบทางดา้ นศลิ ปะทำใหห้ ลงั จากเรยี น จบไฮสคูลที่ Concord College ซัึ่งแข็งด้านวิชาการ มาก เธอจึงต้องมุ่งหน้าเรียนด้านศิลปะเพิ่มเติมท่ี Cambridge School of Visual & Performing Arts CSVPA) สถาบนั สอนศลิ ปะและการแส­ดงชอื่ ดงั ของ อังกฤษ เพื่อค้นหาตัวตนที่แท้จริงให้ได้ว่า ความชอบ ของตัวเองนั้นว่าด้วยศิลปะแขนงไหน­กันแน่

“ส่วนตัวหนูชอบเรียนศิลปะอยู่แล้วค่ะ เริ่มเรียน ตั้งแต่อยู่ Harrow Internatio­nal School ที่เมืองไทย ถึง Year 9 ซัึ่งชอบและอยา­กเรียนศิลปะหลากหลา­ย แนว ตอนลองไปเรียนที่เคมบริดจ์ฯ ก็มีโอกาสได้ลอง เรยี นหลายตวั แตน่ นั่ ทำใหเ้ ราคน้ พบตวั เองวา่ ศลิ ปะ ที่ชอบที่สุดเป็นแนวทาง architectu­re เป็นคนที่ชอบ โปรแกรมออก­แบบ 3D วาดรูปที่ไปผสมผสานกับ พวก science และพวกคณิตศาสตร์ ซัึ่งการใช้สกิล เหลา่ นบี้ วกกบั อารต์ ทำใหม้ นั ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี วอารต์ ทำ แลว้ สนกุ ไดค้ ดิ อะไรใหมๆ่ มอี ะไรใหมๆ่ ใหเ้ ราไดล้ อง เยอะแยะ อีกอย่างการลองไป­เรียนที่เคมบริดจ์ฯ หนู อยากปูทางตัวเองทางด้านศิลปะด้วยการลองอะ­ไร ใหม่ๆ เพราะคิดว่าถ้าเราตัดสินใจเลือกอาชีพนี้ ก็ ตอ้ งลองใหร้ วู้ า่ เราชอบมนั จรงิ ๆ หรอื เปลา่ ตอนแรกก็ อยากเรยี นแฟชนั่ ดว้ ยนะคะ แตพ่ อเรยี นจรงิ ๆ ไมช่ อบ เราทำแฟชนั่ ได้ แต่เหมือนกับยังไม่ใช่ ใจอยากเรียน science บวก art และกร็ สู้ กึ ดว้ ยวา่ สถาปตั ยเ์ นยี่ เปน็ สิ่งที่ตัวเองชอบจริงๆ จังๆ

“ถึงแม้ว่าศิจะชอบศิลปะก็จริง แต่ขอเรียน มหาวิทยาลัยที่สอนวิชาหลายแขนง­ดีกว่า เพราะเรา จะไดม้ ปี ฏิสิ มั พนั ธก์ บั คนหลายประเ­ภท อยากเจอคน ทเี่ รยี นอยา่ งอนื่ นอกจากศลิ ปะบา้ ง อกี อยา่ งโรงเรยี น หรือมหาวิทยาลัยที่สอนศิลปะเพียวๆ จะไม่มีพวก sport hall ซัึ่งหนึ่งสิ่งที่ศิชอบเกี่ยวกับ University of Bath ก็คือที่นี่มี sport hall มีกีฬาให้เราเล่น หนู ชอบแบดมินตัน ดังนั้นนอกจาก architectu­re เรา ก็สามารถเข้าชมรมและทีมแบดมินตันได้ มีหลาย อย่างให้เราได้เรียน”

น้องศิเล่าว่าปีที่เรียนอยู่ CSVPA ได้ทำ A-Level ควบคู่กันไปด้วย โดยมีคุณแม่ขยายความเรื่องราว ในช่วงเวลาที่ทำ A-Level ของสาวน้อยคนเก่งว่า “เขาเรียนคณิตศาสตร์ได้ A Star ภายในสามเดือน คนอื่นเรียนกันถึงสองปีนะ เพราะหนึ่งปีที่เรียน เคมบริดจ์เนี่ยทิ้งไปเลย ไปเรียนเพียวอาร์ต วันหนึ่งก็ โทร.หาแม่ว่าอยากไป architectu­re นั่นหมายความ ว่าต้องเรียนคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ศิเลยมาเรียนและ สอบคณิตศาสตร์ภายในเวลาส­ามเดือน”

“ทำเอง อ่านเอง มีติวบ้างเพราะยังไงต้องมีคน ช่วยสอน เรียนจาก text book ด้วยตัวเองจะยากไ­ป” และเมื่อถามว่าสถาบันสายศิลป์อย่าง CSVPA ก็มี สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสต­ร์ให้เรียน เพราะอะไร ถึงไม่เรียนต่อที่นี่เลย “เคมบริดจ์ฯ จะเน้นทฤษฎีีเกิน ไปค่ะ เลยเลือก University of Bath ดีกว่า

“สำหรับการส่งคะแนนเพื่อเข้าเรียนสาขาวิชา สถาปัตยกรรมศาสต­ร์ของ University of Bath โรงเรียนเป็นคนส่งให้ โดยมีครูช่วยเขียนเกี่ยวกับเรา ส่วนตัวเองก็ต้องเขียน personal statement เล่า เรื่องตัวเองให้ดูน่าสนใจว่า เราแตกต่างจากคนอื่น อย่างไร ซัึ่งหนูเลือก architectu­re ก็ต้องเขียนเกี่ยว กับ inspiratio­n ว่าทำไมถึงเลือก และเล่าว่าเคยทำ อะไรมาบ้าง ซัึ่งที่เขียนไปมีทั้งการเป็น monitor ของ charity events ในสงิ่ ทเี่ ราสนใจ แลว้ กพ็ วก portfolio ทเี่ ปน็ ของเรา ตอ้ งทำใหเ้ ขาดดู ว้ ย ในพอรต์ ไมไ่ ดเ้ ขยี น เยอะมาก เหมือนแค่เล่าว่างานนคี้ อนเซัปต์อะไร เล่า ดว้ ยเรอื่ งราวอะไร” ซัง่ึ ระหวา่ งเลา่ เรอื่ งนน้ี อ้ งศไิ ดโ้ ชว์ ผลงานของเธ­อให้ทีม HELLO! Education ได้ชมไป พลาง ร้องว้าวกันไปพลาง

“งานแรกเปน็ ธมี ทหี่ นเู ลอื กเองเกย่ี วกบั changing time ได้แนวคิดนี้จากคุณยายและน้องชาย เป็น เรื่องกาลเวลาที่เปลี่ยนไประหว่างเด็กกับผใู้ หญ่ โดย มีงาน drawing โชว์ผ่านกล้องโบราณของ­คุณพ่อ และเพราะเป็น changing time ก็เหมือนความคิด ที่เปลี่ยนไปของคนส­องวัย เปรียบได้กับด้านในของ นาฬิิกาที่เหมือนกับในสมองของ­เราว่า ความคิดกับ ประสบการณ์ของแต่ละคนจะเปลี่ยนไปตามกาล เวลา และมีความแตกต่างของสองยุค อย่างคุณยาย เกดิ ในยคุ สงครามโลกค­รงั้ ทส่ี อง สว่ นนอ้ งหนเู กดิ ชว่ ง โควิด เติบโตในช่วงโควิด ก็โชว์ให้เห็นความแตกต่าง ของสองเจเน­อเรชั่นที่มาผสมผสานกัน

แต่ถ้าโดยส่วนตัวในสายศิลป์น้ัน น้องศิปล้ืมกับ 3D โปรแกรมมาก­ที่สุด “หนูชอบทำชอบสร้างพวก 3D โปรแกรมมาก­ค่ะ ที่โรงเรียนให้ใช้ 3D Printer ซัึ่ง เราสนใจเรื่องนี้อยแู่ ล้ว ก็พยายามศึกษา ทดลองทำ เยอะเหมอื นกนั ตอ้ งฝั่กึ เอง และไดส้ รา้ งโมเดลไวส้ อง ตัว มีเป็นไม้ด้วย ทำเป็น template ทจี่ ะมาสร้างเป็น เวอร์ชั่นไม้ด้วย” และนอกจากผ­ลงานที่เล่าถึงแล้ว น้องศิยังเอาผลงานอื่นๆ มาให้ได้ชมกันอีกหลายชิ้น

ถามว่าการเรียนวิชาชีพสถาปนิกต้องใช้เวลา นานแค่ไหน “เรียนปริญญาตรี 4 ปี ต่อด้วยโทอีก 2 ปี รวมๆ ก็หกปีค่ะ ที่นใี่ ห้เรียนนานกว่าที่อื่น แล้ว ต้องมี working experience ซัึ่งเป็นหลักสูตรของ Bath ที่แตกต่างจากมหาวิทยาลัยอ่ืนๆ ในการท่ีเขา จะส่งเด็กไปทำงานระ­หว่างเรียนด้วยเลย ได้ทำงาน จริง รับเงินค่าทำงานจริงๆ อย่างเรียนปี 2 ปี 3 แล้ว คนไหนที่มองว่ามีความสามารถ­พร้อมส่งไปทำงาน มีระยะตั้งแต่ 3 เดือน 6 เดือน แล้วแต่เลย ซัึ่งบริษัท บางแหง่ กน็ บั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ work experience ใน โปรไฟล์ของเราด้วยค่ะ”

‘เลิิกเรียนจะมัี Prep ให้้เด็ก กลิับไปอ่านทบทวน สิ่ิ¬งท¬เี รียนไป ซึ่่¬งปกติ อย่ไทยก็ทำาอย่แลิ้ว อ่านสิ่ิ¬ง ท¬จี ดไว้ เพ่อทำาความัเข้้าใจ อีกครัง การอ่านโน้ตข้อง คนอ่น ไมั่เข้้าใจเท่ากับเรา เข้ียนเองจดเอง’

 ?? ??
 ?? ?? คุณุ ฌาดาพรฑ์์ คุอมันัั ตร์์ นกั เรยีี นสถาปัตัั ยที่์์ ฉ²ี²ี ายแวว คุวามังามัมัาตงัั³³ แตเ่่ ดก็ แถมัพว่่ งดว้้ ยคุวามัเปัน็ เลิศิ ที่างดา้้ น วชิิ าการแลิะศลิิ ปัะ อกี 6 ปันี บั จากนี³ เราคุงเห็น็็ สถาปันกิิ สาวคุนนโีี³ ลิดแลิน่่ ในวงการสถา­ปัตัั ยกรรมัของไที่ยกเ็็ ปัน็ ได้้
คุณุ ฌาดาพรฑ์์ คุอมันัั ตร์์ นกั เรยีี นสถาปัตัั ยที่์์ ฉ²ี²ี ายแวว คุวามังามัมัาตงัั³³ แตเ่่ ดก็ แถมัพว่่ งดว้้ ยคุวามัเปัน็ เลิศิ ที่างดา้้ น วชิิ าการแลิะศลิิ ปัะ อกี 6 ปันี บั จากนี³ เราคุงเห็น็็ สถาปันกิิ สาวคุนนโีี³ ลิดแลิน่่ ในวงการสถา­ปัตัั ยกรรมัของไที่ยกเ็็ ปัน็ ได้้

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand