Hello! (Thailand)

สมเด็จพระบรมราชินีนาถ 2 พระองค์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9

-

‘สมเด็จพระบรมราชินีนาถ’ หมายถึงตำแหน่งสูงสุดของพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย ที่ทรงได้รับพระบรมราช­โองการโปรด­เกล้าฯ ให้ทรงดำรงตำแ­หน่งผู้สำเร็จราชการแทน­พระองค์ และทรงได้รับ การสถาปนาพ­ระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ซึ่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีพระอัครมเหสีเพียง 2 พระองค์เท่านั้น ที่ได้ทรงดำรงตำแ­หน่งนี้

สมเด็จพระบรมราชินีนาถ พระองคแ์ รกแหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 5

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 5 เป็นพระราชธิดาในพระบาท­สมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั ซง่ึ ประสตู แิ ตเ่ จา้ จอมมารดาเป­ย่ี ม (ภายหลงั ได้รับการสถาปนา­ขึ้นเป็น สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา) มีพระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติ คือ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี พระราชสมภพ­ในพระบรมมห­าราชวัง เมื่อวันศุกร์ เดือนอ้าย แรม 7 ค่ำ ปีกุน เบญศก จ.ศ. 1225 ซึ่งตรง กับวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2407

เมื่อพระบาทสมเ­ด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ สวรรคต และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า จุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานารถ เสด็จขึ้นเถลิง ถวัลยราชสมบัติขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราช­จักรีวงศ์ พระฐานันดรศักดิ์จึงเปลี่ยน เป็น พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี

เมื่อพระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่อง ศรี เจริญพระชันษาขึ้นมีพระสิริโฉมงดงาม เป็นที่ พอพระราชหฤ­ทัยของพระบาท­สมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเข้ารับราชการเป็น พระภรรยาเจ้าในรัชกาลที่ 5 ขณะที่มีพระชนมายุ 15 พรรษา โดยมีพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 4 ที่รับ ราชการเป็นพระภรรยาเ­จ้าในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกับ พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้า สุนันทากุมารีรัตน์ พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้า สุขุมาลมารศรี และพระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้า สว่างวัฒนา โดยครั้งแรกที่ทรงรับราชการเป็น พระภรรยาเจ้าในรัชกาลที่ 5 นั้น พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาพ­ระองค์ให้เป็น พระนางเธอ พระองคเ์ จา้ เสาวภาผอ่ งศรี และในปถี ดั มา ก็ได้รับการสถาปนา­เป็น พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระราชเทวี

ภายหลังการเสด็จสวรรคตของ­สมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราช กุมาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาส­มเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหา วชิราวุธฯ พระราชโอรส­ในพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเท­วี ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอร­สาธิราช สยามมกุฎราชกุมารพระองค์ต่อไป พร้อมทั้งสถาปนา

พระอิสริยยศของพระน­างเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวร ราชเทวี ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอัครราชเทวี ในฐานะเป็นพระราชชนนีในสมเด็จ พระบรมโอรส­าธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารพระองค์ ใหม่ ซึ่งเป็นพระยศพระอัครมเหสีเช่นเดียวกับสมเด็จ พระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเ­ทวี

เมอ่ื พระบาทสมเด­จ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ประพาสทวปี ยโุ รปใน พ.ศ. 2440 เพอ่ื ทรงศกึ ษาวทิ ยา การอันทันสมัยแบบตะวันตก และทรงนำมา­ปรับปรุง พัฒนาราชอาณา­จักรสยามให้ทัดเทียมอารยประเ­ทศ พรอ้ มกนั นน้ั กเ็ พอ่ื ทรงเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั ประเทศใน ทวีปยุโรป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอัครราชเทวี ทรงดำรงตำแ­หนง่ ผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพ­ระองค์ ซง่ึ ทรง ปฏิบัติราชการแผ่นดินได้เรียบร้อยเป็นที่พอพระราช หฤทัยยิ่งนัก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เฉลิม พระนามาภไิ ธยจาก สมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรี พระอคั รราชเทวี เปน็ ‘สมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรี พระบรมราชินีนาถ’ ซึ่งถือว่าทรงเป็นสมเด็จพระบรม ราชินีนาถพระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และของ ราชอาณาจกั รสยาม หรอื ประเทศไทยใ­นขณะนน้ั

เมอ่ื สมเดจ็ พระบรมโอรส­าธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จขึ้นครองราชสม­บัติเป็น พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 แห่งพระบรมราช­จักรีวงศ์ เฉลมิ พระปรมาภไิ ธยวา่ พระบาทสมเด­จ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว จึงมีพระบรมราชโ­องการประกา­ศเฉลิม พระนามาภิไธยสมเด็จพระบรมราช­ชนนีว่า ‘สมเด็จ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนี’ บางครั้งออกพระนาม­ว่า ‘สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง’

พระราชกรณียกิจในฐานะสมเ­ด็จพระบรม ราชินีนาถ

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง ทรงปฏิบัติพระราช กรณียกิจไว้มากมายนานัปการ ทั้งด้านการศึกษา การศาสนา การทหาร การเกษตร และการ สาธารณประโ­ยชน์ เป็นต้น แต่หลักๆ แล้ว จะมี ความสนพระร­าชหฤทัยด้านการศึกษาของสตรี และด้านการแพทย์และพยาบาล

ด้านการศึกษาของสตรี

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง สนพระราชหฤ­ทัยใน การพัฒนาสตรีและมีพระราชดำริว่าความรุ่งเรือง ของบ้านเมืองย่อมอาศัยการศึกษาเล่าเรียนที่ดี ใน พ.ศ. 2444 จึงทรงบริจาคพระราชท­รัพย์ส่วน พระองค์จัดตั้งโรงเรียนสำหรับเด็กหญิงแห่งที่สอง ขึ้นในกรุงเทพมหานคร และพระราชท­านชื่อว่า ‘โรงเรียนสตรีบำรุงวิชา’ และใน พ.ศ. 2447 ทรง เปิดโรงเรียนสำหรับกุลธิดาของข้าราชสำนักและ บุคคลชั้นสูงคือ ‘โรงเรียนสุนันทาลัย’ ให้การอบรม ด้านการบ้านการเรือน กิริยามารยาท และวิชาการ ต่างๆ อีกทั้งทรงจ่ายเงินเดือนครู และค่าใช้สอย ต่างๆ สำหรับเป็นค่าเล่าเรียนแก่กุลบุตรกุลธิดา ของข้าราชการใหญ่น้อยและราษฎร­อีกเป็นจำนวน มาก ทรงบริจาคพระราชท­รัพย์ส่วนพระองค์ให้ตั้ง โรงเรียนและจ่ายเงินเดือนครูในโรงเรียนต่างๆ

ด้านการแพทย์และพยาบาล

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง ทรงมีความห่วงใย ความเจ็บไข้ได้ป่วยของราษฎร­และทหารเป็นอย่าง ยิ่ง โดยทรงสนับสนุนการก่อตั้งโรงพยาบาล­ศิริราช ซึ่งนับว่าเป็นโรงพยาบาล­แห่งแรกของประ­เทศไทย และพระราชท­านทรัพย์ส่วนพระองค์ ตั้งโรงเรียน แพทย์ผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบ­าลแห่งนี้สำหรับ เป็นสถานศึกษาวิชาพยาบาลแล­ะผดุงครรภ์ของ สตรี ทั้งยังทรงจ่ายเงินเดือนแพทย์ มิชชันนารี ช่วยเหลือค่าใช้จ่าย ตลอดจนค่าอาหารของ นักเรียน และพระราชท­านพระราชทรัพย์ให้แก่ หญิงอนาถาที่มาคลอดบุตรในโรงพยา­บาลศิริราช เพื่อเป็นค่าใช้สอยทุกคน

พระองค์ทรงเป็นผู้นำชักชวนสตรีไทยให้เลิก การคลอดบุตรในลักษณะที่ต้องอยู่ไฟมาใช้วิธีการ พยาบาลแบบส­ากล ที่สุขสบายและได้ผลดีกว่า นอกจากนี้พระองค์ยังมีพระราชดำริจัดตั้งสภา อุณาโลมแดงแล­ะได้ทรงบริจาคพระราชท­รัพย์ ส่วนพระองค์จัดสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2436 เพื่อเป็น ศูนย์กลางบรรเทา­ทุกข์ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วย ซึ่งต่อมา ภายหลังที่ได้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศไท­ย กับประเทศฝรั่งเศส เรื่องเขตแดนริมฝั่งแม่น้ำโขง อัน นำมาซึ่งการบาดเจ็บให้กับทหารและรา­ษฎร

พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเห็น ว่าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระปรีชา สามารถในกา­รที่จะรับพระราช ภารกจิ เปน็ ผสู้ ำเรจ็ ราชการแทน พระองค์ในระหว่างที่ทรง พระผนวช

จำนวนมาก สภาอุณาโลมแดงได้เป็นศูนย์กลางใน การบรรเทาทุกข์ลงอย่างมาก หลังจากวิกฤติการณ์ ดังกล่าว สภาอุณาโลมแดงจึงใช้ชื่อว่า สภากาชาด สยาม ซึ่งแปรเปลี่ยนเป็นโรงพยาบาล­จุฬาลงกรณ์ และสภากาชา­ดไทยในปัจจุบัน ซึ่งนับว่าเป็นองค์กร สาธารณประโ­ยชน์องค์กรแรกในประ­เทศไทย ทั้งนี้ สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเ­ทวี (สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเท­วี พระพันวัสสา อัยยิกาเจ้า) เป็นสภาชนนี และพระนางเ­จ้าเสาวภา ผ่องศรี พระวรราชเท­วี (สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง) ทรง ดำรงตำแหน่งสภานายิกา ซึ่งพระองค์ได้ทรงดำรง ตำแหน่งองค์สภานายิกาสืบต่อมารวมเวลา­ถึง 26 ปี อีกทั้งพระองค์ยังได้ทรงบริจาคพระราชท­รัพย์แก่ โรงพยาบาลห­ลายแห่งทั้งในกรุงเทพมหานคร­และ ต่างจังหวัด

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ใน รัชกาลที่ 5 ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่ออาณา ประชาราษฎร์ไว้มากมายนานัปการ จนกระทั่ง เสด็จสวรรคตในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2462 สิริพระชนมายุ 56 พรรษา

ทรงอนุรักษ์และส่งเสริมงาน ศิลปะพื้นบ้านที่มีความงดงาม หลายสาขา เช่น งานทอผ้าไหม ประเภทต่างๆ งานปักซอย แบบไทย เป็นต้น สมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ พระองค์ ที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 พระนามเดิมคือ หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ กิติยากร พระธิดาพระองค์ใหญ่ในหม่อมเจ้า นักขัตรมงคล กิติยากร (ภายหลังเป็นพระวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรี สุรนาถ) ประสูติแต่หม่อมหลวงบัว กิติยากร (ราชสกุลเดิม สนิทวงศ์) เมื่อวันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ณ บ้านของพลเอก เจ้าพระยาวงษา­นุ ประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) อันเป็น บ้านของพระอัยกาฝ่ายพระมารดา สำหรับพระนาม ‘สิริกิติ์’ ได้รับพระราชทาน­จากพระบาทส­มเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความหมายว่า ‘ผู้เป็นศรี แห่งกิติยากร’

พ.ศ. 2489 ครั้นเมื่อสงครามโลก­ครั้งที่สองสงบ ลง หม่อมเจ้านักขัตรมงคลต้องเสด็จไปทรงดำรง ตำแหน่งอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็มประจำราชส­ำนัก เซนตเ์ จมส์ ประเทศองั กฤษ ทง้ั นไ้ี ดท้ รงพาครอบคร­วั ทั้งหมดไปอยู่ด้วย ในเวลานั้นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ มีอายุได้ 13 ปีเศษ และเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้ว ขณะที่อยู่ในประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ได้ศึกษาต่อทั้งวิชาภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส และวิชาเปียโนกับครูพิเศษ หลังจากนั้นไม่นาน พระบิดาย้ายไปประจำ ณ ประเทศเดนม­าร์กและ ฝรั่งเศสตามลำดับ

ระหว่างที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ได้มีโอกาสรับเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช (พระราชอิสริยยศในขณะนั้น

ซึ่งยังไม่ได้ประกอบพระร­าชพิธีบรมราชาภิเษก) ซึ่ง เสด็จฯ ไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราช­จักรีวงศ์ ซึ่งพระองค์ เสด็จประพาสกรุงปารีสเพื่อทอดพระเนต­รโรงงาน ทำรถยนต์ ทั้งนี้เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภมู พิ ลอดลุ ยเดชโปรดกา­รดนตรแี ละศลิ ปะเปน็ พเิ ศษ ขณะที่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ก็สนใจศิลปะเช่นเดียว กัน ประกอบกับรูปโฉมที่งดงามและกิริยามารยาท ที่เรียบร้อย จึงเป็นที่พอพระราชหฤ­ทัยในสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชยิ่งนักและได้ทรง หมั้นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร เป็นการภายใน เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492

เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระราชพิธี ราชาภเิ ษกสมรสในพร­ะบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร จงึ จดั ขน้ึ ณ พระตำหนกั ใหญ่ ในวงั สระปทมุ โดยมี สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเท­วี พระพันวัสสา อัยยิกาเจ้า เสด็จฯ ไปทรงเป็นประธาน ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปร­มาภไิ ธยในทะเบยี นสมรสและโป­รดให้ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร พร้อมทั้งสักขีพยาน ลงนามในทะเ­บียนสมรสนั้น หลังจากนั้นสมเด็จ พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าเสด็จออกในพระร­าชพิธี ถวายน้ำพระพุทธมนต์เทพมนต์แด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และทรงรดน้ำ พระพุทธมนต์เทพมนต์แก่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ในการพระรา­ชพิธีราชาภิเษกสมรสตาม โบราณราชปร­ะเพณี ต่อมาพระบาทส­มเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพร­ะกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้อาลักษณ์อ่านประกาศสถ­าปนาหม่อม ราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรขึ้นเป็น ‘สมเด็จพระราชินี สิริกิติ์’

เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราช­พิธีบรม ราชาภิเษกตามแบบอ­ย่างโบราณราช­ประเพณีขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณตามโบราณร­าชประเพณี เมื่อสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าได้เสด็จเถลิง ถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกแล้ว ย่อมโปรดให้ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระอัครมเหสี ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชินี ดังนั้น พระองค์จึง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาป­นา เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี

เมื่อ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชประส­งค์จะทรง พระผนวชเป็นพระภิกษุระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม ถึง 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 เป็นระยะเวลา 15 วัน จึงต้องมีการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทน­พระองค์ ดังนั้นจึงมีพระราชดำริว่าสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินี เป็นผู้มีพระปรีชาสามารถใน­อันที่จะ รับพระราชภาร­กิจในคราวนี้ได้ จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทน­พระองคใ์ น ระหว่างที่ทรงพระผนวช ต่อมาในวันเฉลิมพระ

พระองคม์ พี ระราชประสง­คท์ จี่ ะ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ ราษฎรให้ดีขึ้น ด้วยทรง มุ่งหวังให้ราษฎรสามาร­ถ เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืน

ชนมพรรษา วนั ท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2499 พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรม ราชโองการป­ระกาศให้เฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีว่า ‘สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ’ นับว่าทรง เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถพระองค์ที่ 2 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ และราชอาณา­จักรไทย

พระราชกรณียกิจในฐานะสมเ­ด็จพระบรม ราชินีนาถ

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ได้โดยเสด็จพระบาทสมเ­ด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไปทั่วทุกหนแห่งใน แผ่นดินไทยนี้ ไม่ว่าจะห่างไกลทุรกันดารเพียงใด ทำให้ทรงพบว่ายังมีประชาชนอีกจำนวนมากใ­น ชนบทห่างไกลที่มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยากไร้ จึงมี พระราชประส­งค์ที่จะส่งเสริมคุณภาพชีวิตความ เป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น ด้วยทรงมุ่งหวังให้ ราษฎรสามาร­ถเลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืน

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้ ทรงอุทิศพระองค์โดยการทรงง­านตามแนวพร­ะราช ดำริของพระบาทส­มเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช เพื่อให้ราษฎรหลุดพ้นจากความยา­กจน ด้วยการพระรา­ชทานอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ในการ ทรงงานดงั กลา่ วทรงเรม่ิ ตน้ และทรงใชพ้ ระราชทรพั ย์ ส่วนพระองค์อยู่เป็นเวลานาน ต่อมาข้าราชบริพาร ได้รวบรวมมีผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเงินโดยเสด็จ พระราชกุศล นำเงินขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อก่อตั้ง มลู นธิ สิ ง่ เสรมิ ศลิ ปาชพี พเิ ศษ ในพระบรมรา­ชนิ ปู ถมั ภ์ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ภายหลังได้ เปลี่ยนชื่อเป็น มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับเป็น ประธานกรรม­การบริหารของมูลนิธิฯ และทรงงาน ศลิ ปาชพี มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อนั เปน็ การสง่ เสรมิ อาชพี ขณะเดยี วกนั ยงั อนรุ กั ษแ์ ละสง่ เสรมิ งานศลิ ปะพน้ื บา้ น ที่มีความงดงามห­ลายสาขา เช่น งานทอผ้าไหม ประเภทต่างๆ งานปักซอยแบบไทย การจักสาน ย่านลิเภา งานประดับปีกแมลงทับ เป็นต้น

นอกจากนี้ยังเอาพระราช­หฤทัยใส่ในกิจการ ด้านสาธารณสุข โดยได้ทรงดำรงตำแ­หน่งสภา นายิกาสภากาชาด­ไทย และหากเสด็จฯ เยือน ต่างประเทศ ก็มักจะทรงถือโอกาสเสด็จฯ ไปทอด พระเนตรกิจการกาชาดข­องประเทศนั้นๆ เพื่อทรง นำมาปรับปรุงกิจการสภากาช­าดไทยอยู่เสมอ

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรชั กาลท่ี 9 ไดท้ รงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ เคยี งคู่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นระยะเวลาเ­กือบ 70 ปี จนกระทั่งพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จ สวรรคตในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 แต่สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถก็ยังทรงฏิบัติ พระราชกรณียกิจเพื่อสืบสานพระราช­ปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเพื่อปวงชนชาวไ­ทยสืบไป

สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงปฏบิ ตั พระราชกรณยี กจิ เคยี งคู่ พระบาทสมเด­จ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เปน็ ระยะเวลาเก­อื บ 70 ปี

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ?? พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายพระบรมฉ­ายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ และพระราชโ­อรส วนตามเข็มนาฬิกา จากซ้าย: สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวง นครราชสีมา; พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิระประวัติวรเดช กรมหลวงนคร­ไชยศรีสุรเดช; สมเด็จพระเจ้าบรม วงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำร­งค์ฤทธิ์; สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธรา
ดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย และพระบาทส­มเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายพระบรมฉ­ายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ และพระราชโ­อรส วนตามเข็มนาฬิกา จากซ้าย: สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวง นครราชสีมา; พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิระประวัติวรเดช กรมหลวงนคร­ไชยศรีสุรเดช; สมเด็จพระเจ้าบรม วงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำร­งค์ฤทธิ์; สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธรา ดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย และพระบาทส­มเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7
 ??  ??
 ??  ?? (บน) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทูลเกล้าฯ ถวายสิ่งของขณะพระ­บาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพร­ะผนวช (ล่าง) ทรงปฏิญาณพระองค์ ต่อรัฐสภา ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ในโอกาสที่ทรงได้รับการโปรดเก­ล้าฯ แต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทน­พระองค์ (ล่างขวา) ทรงได้เข้าร่วมการประชุมคณะองคมนต­รี และ ได้ทรงลงพระนา­มาภิไธยในกฎหมา­ยบางฉบับ ที่ยังมีผลบังคับใช้มาจนปัจจุบัน
(บน) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทูลเกล้าฯ ถวายสิ่งของขณะพระ­บาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพร­ะผนวช (ล่าง) ทรงปฏิญาณพระองค์ ต่อรัฐสภา ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ในโอกาสที่ทรงได้รับการโปรดเก­ล้าฯ แต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทน­พระองค์ (ล่างขวา) ทรงได้เข้าร่วมการประชุมคณะองคมนต­รี และ ได้ทรงลงพระนา­มาภิไธยในกฎหมา­ยบางฉบับ ที่ยังมีผลบังคับใช้มาจนปัจจุบัน
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ?? สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงอนุรักษ์และส่งเสริมงานศิลปะพื้นบ้าน อาทิ ผ้าไหมไทย โดยทรงฉลอง พระองค์ผ้าไหมประเภท­ต่างๆ เป็นประจำเสมอ
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงอนุรักษ์และส่งเสริมงานศิลปะพื้นบ้าน อาทิ ผ้าไหมไทย โดยทรงฉลอง พระองค์ผ้าไหมประเภท­ต่างๆ เป็นประจำเสมอ
 ??  ?? (บน) สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยเสด็จพระบาทสมเ­ด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไปยัง ทุกหนแห่งไม่ว่าจะเป็นถิ่นทุรกันดารในประเ­ทศ หรือการเสด็จพระราชดำเ­นินเยือนต่างประเทศ (ล่าง) สมเด็จ
พระบรมโอรส­าธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระอิสริยยศในขณะนั้น) โดยเสด็จอยู่เนืองๆ
(บน) สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยเสด็จพระบาทสมเ­ด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไปยัง ทุกหนแห่งไม่ว่าจะเป็นถิ่นทุรกันดารในประเ­ทศ หรือการเสด็จพระราชดำเ­นินเยือนต่างประเทศ (ล่าง) สมเด็จ พระบรมโอรส­าธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระอิสริยยศในขณะนั้น) โดยเสด็จอยู่เนืองๆ
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ?? สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถพระองค์ที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และราชอาณา­จักรไทย ผู้มีพระปรีชาสามารถแล­ะทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อสืบสานพระราช­ปณิธานของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสืบมา
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถพระองค์ที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และราชอาณา­จักรไทย ผู้มีพระปรีชาสามารถแล­ะทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อสืบสานพระราช­ปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสืบมา

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand