Hello! (Thailand)

‘ระยะทางและ­เวลาที่ห่างกัน ทำให้เราใช้เวลากับคุณแม่ อย่างรู้คุณค่ามากขึ้น’ คุณนุก-กมลพร บุรณศิริ

-

เป็นคู่แม่ลูกอันดับต้นๆ ที่เคยควงคู่กันมาถ่ายแบบ ให้ HELLO! ตั้งแต่สมัยคุณนุก-กมลพร บุรณศิริ ยังเป็นนักเรียนไฮสคูล “นุกกลับไปดูรูปเก่าๆ ของ ตัวเองแล้วตกใจ บ่นว่า ‘I’m so fat.’” คุณแม่มุกหม่อมหลวงรดีเทพ เทวกุล แอบเม้าธ์ลูกสาวคนโต วยั 21 ปอี ยา่ งขำๆ ขณะทลี่ กู สาวพดู ถงึ เวริ ก์ กงิ้ มัม ลูกสามอย่างขำๆ เช่นกันว่า “แต่ก่อนกลัวคุณแม่ มากไม่นึกเหมือนกันว่าจะคุยกับคุณแม่เหมือนเป็น เพื่อนได้แบบนี้” ยืนยันสายสัมพันธ์แม่ลูกที่ระยะ ทางและระยะ­เวลาไมเ่ คยเปน็ อปุ สรรคใดๆ วา่ ทนี่ กั จติ วทิ ยาควบนกั เขยี น

หลายปกี อ่ นทค่ี ณุ นกุ ถา่ ยแบบกบั HELLO! เธอเพง่ิ เขา้ เรยี นท่ี The Hotchkiss School โรงเรยี นประจำชอ่ื ดงั ในรฐั คอนเนตทคิ ตั ประเทศสหรฐั อเมรกิ า หลายปผี า่ นไป เธอ ปรากฏตัวเป็นหญิงสาววัย 21 ปี ร่างเพรียวลม คุณแม่ บอกว่าลูกสาวคนโตน้ำหนักลดลงไปกว่า 10 กิโลกรัม เพราะฟติ เลน่ กฬี าหนกั มาก และสนใจในก­ารดแู ลสขุ ภาพ แต่อีกสาเหตุอาจเป็นเพราะเธอเ­รียนเอกสองสา­ขาพร้อม กันทั้งเอกภาษาอังกฤษและจิตวิทยาที่ Georgetown University “นกุ ชอบอา่ นและเขยี นหนงั สอื มาตง้ั แตเ่ ดก็ ใน อนาคตอยากเ­ขยี นหนงั สอื หรอื เปน็ โปรเฟสเซอร­ส์ อนภาษา องั กฤษ” วา่ ทน่ี กั ศกึ ษาปี 4 บอกเลา่ ความฝนั ในวยั เดก็

“ตอนเรียนที่จอร์จทาวน์ใหม่ๆ นุกได้เรียนวิชา จติ วทิ ยาเปน็ ครง้ั แรกและชอบม­าก คลา้ ยการอา่ นหนงั สอื เหมือนกันนะคะ อย่างเวลาเราอ่านหนังสือก็ชอบที่จะ เข้าใจความรู้สึกนึกคิดของตัวละครแต่ละตัว จิตวิทยาก็ เป็นแบบนั้นเหมือนกัน เราได้ทำความเข้าใจตัวเองและ คนอื่น ถ้าเรียนจิตวิทยาก็จะสามารถใช้สิ่งที่เรียนรู้มาไป ชว่ ยเหลอื คนอน่ื ได้ และยงั นาํ สง่ิ ทเ่ี ราเรยี นรมู้ าเขยี นไดอ้ กี เลยเลือกเรียนเอกสองตัวพร้อมกัน ยอมเรียนหนักเป็น

สองเทา่ คะ่ ”

ครั้งนี้เธอกลับมาเมืองไทย 2 เดือน นอกจากเยี่ยม ครอบครัวตามปกติแล้ว ยังมาเตรียมทำวิทยานิพนธ์ เกี่ยวกับ Emotional Landscape ในสังคมไทย “เป็นการ ศึกษาอารมณ์ความรู้สึกของคนไทยค่ะ” เธอไม่สันทัด ภาษาไทย แตพ่ ยายามถา่ ยทอดจติ วทิ ยาใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยทส่ี ดุ “คนไทยอาจจะ­เข้าใจอารมณ์ต่างๆ เช่น เศร้า รัก โกรธ รสู้ กึ ผดิ ฯลฯ ในความหมาย­ทต่ี า่ งไปจากคนชา­ตอิ น่ื ๆ เชน่ คนไทยคิดว่าความรักและความสุขอยู่ใกล้กัน แต่คนจีน หรอื คนอเมรกิ นั อาจไมไ่ ดเ้ ขา้ ใจแบบนน้ั

“นุกสนใจประเด็นนี้ เพราะได้อ่านผลการศึกษาชิ้น หนึ่งเกี่ยวกับเรื่องที่ว่า วัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อมจะเป็น ตวั ประกอบสรา้ งความรสู้ กึ ของเราจรงิ หรอื เชน่ พอไปอยู่ อเมริกา สิ่งแวดล้อมที่นั่นทำให้เรารู้สึกคึกคัก มีพลังมาก กว่าการอยู่ประเทศแถบเ­อเชีย ทีว่ ฒั นธรรมแถบนส้ี อนให้ คนเกบ็ ความรสู้ กึ มากกวา่ แตจ่ รงิ ๆ แลว้ มโี ปรเฟสเซอรค์ น หนึ่งทำวิจัยแล้วพบว่า วัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อมไม่ได้ เปลี่ยนความรู้สึก แต่มันชี้นำให้เรา ‘อยาก’ รู้สึกไปทาง นน้ั เราเปน็ ไปตามสง่ิ ทเ่ี ราเชอ่ื เหมอื นเราบอกตวั เองวา่ ไป อเมริกาต้องทำตัวคึกคัก เพราะคนอเม­ริกันเข้าใจคำว่า ความสขุ วา่ ตอ้ งรสู้ กึ ตน่ื เตน้ คกึ คกั แสดงออกเยอ­ะๆ เวลา ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื งอะไรแบบนแ้ี ลว้ ชอบมากไดเ้ ขา้ ใจตวั เองและ เขา้ ใจโลกมากขน้ึ คะ่ ” เธอเลา่ ดว้ ยนำ้ เสยี งตน่ื เตน้

คุณนุกไปใช้ชีวิตในต่างประเทศคน­เดียวตั้งแต่อายุ 15 ปี แต่นั่นอาจเป็นสิ่งที่ดีที่สุดในชีวิต เมื่อเธอได้เลือก ชีวิตให้ตัวเองได้และสนิทกับครอบครัวมากขึ้น “ตอนอยู่ เมอื งไทย นกุ รสู้ กึ ขอบคณุ เสมอทค่ี รอบครวั ใหอ้ ะไรกบั นกุ เยอะมาก สง่ ใหเ้ รยี นดๆี ดแู ลเราทกุ เรอ่ื ง แตบ่ างครง้ั รสู้ กึ เหมือนกดดันว่าต้องทำตัวตามกรอบ ไม่อยากให้คนอื่น ผดิ หวงั เลย อยากทาํ ทกุ อยา่ งใหด้ ที ส่ี ดุ คะ

“ตลอดหลายปที ไ่ี ปอยอู่ เมรกิ าคนเดยี ว ดว้ ยระยะทาง ที่ห่างกันเลยทำให้ยิ่งคิดถึงกัน แต่พอตอนอยู่เมืองไทย เราอาจจะอยู่ใกล้กัน และมีวัฒนธรรมแบบไ­ทยด้วย ความสัมพันธ์ของแม่ลูกเลยออกมาใ­นแนวลูกต้องเชื่อฟัง เรียนหนังสือ ทำการบ้าน เหมือนเรามีหน้าที่เป็นลกู เลย จะกลัวๆ คุณแม่มาตลอด แต่พอไปอยู่อเมริกาเวลาต่าง กัน 12 ชั่วโมง ก็เลยขอให้แม่ช่วยทุกอย่างไม่ได้ ต้องหัด แกป้ ญั หาเอง พอเราไมต่ อ้ งพง่ึ พาเขาหรอื เอาปญั หาไปให้ ตลอดเหมือนแต่ก่อน บทสนทนาก็กลายเป็นการถามไถ่ ชีวิต เรื่องความเป็นอยู่เสียมากกว่า และด้วยเวลาที่ต่าง กนั ทำใหเ้ ราไดค้ ยุ กนั นอ้ ยลงดว้ ยคะ่ เราตน่ื แมน่ อน เลย ต้องใช้เวลาให้มีคุณค่ามากขึ้น รู้สึกว่าตอนนี้สนิทกับ คณุ แมม่ าก เหมอื นเปน็ เพอ่ื นกนั คะ่ ”

ชวี ติ เรมิ่ ตน้ ใหมท่ วี่ ยั 50

“ปีนี้ 50 แล้วค่ะ มันฟังดูน่ากลัวมาก” คุณมุกเปิด ฉากด้วยน้ำเสียงตระหนกนิดๆ แต่ก็เป็นเพียงการแกล้ง ทำเลน่ ๆ เทา่ นน้ั เพราะประโย­คถดั มาเธอยม้ิ รา่ เสยี งรา่ เรงิ “แตก่ อ่ นเวลาเรานกึ ถงึ คนอายุ 50 นจ่ี ะมอี าการแบบ ‘เอา เกา้ อม้ี ย้ั คะ เอายาดมมย้ั คะ’ (หวั เราะ) แตพ่ อเราเดนิ ทาง มาถงึ ตวั เลขน้ี กไ็ มไ่ ดร้ สู้ กึ วา่ แกเ่ ลยนะคะ ยคุ สมยั น้ี อายุ 50 กค็ งเปน็ New 40 นะคะ คนรอบขา้ งเรากค็ ดิ แบบน้ี ยงั เคยคุยกันเลยว่าหรือว่าพวกเราคงคิดกันไปเอง” เธอปิด ทา้ ยดว้ ยเสยี งหวั เราะขำตวั เอง

เปน็ คณุ แมล่ กู สามทท่ี ำงานฝา่ ยสอ่ื สารองคก์ รทบ่ี รษิ ทั ไทยเบฟเวอเ­รจ จำกดั (มหาชน) อยา่ งขยนั ขนั แขง็ ซง่ึ เธอ บอกวา่ ตดั สนิ ใจถกู ทก่ี ลบั ไปทำงาน “บางคนคดิ เรอ่ื งงาน แล้วจะทำหน้าเซ็ง ต้องตื่นไปทำงานอีกแล้วเหรอ แต่เรา ไม่เป็นเลยเพราะเ­ป็นงานที่เราชอบและถ­นัด มุกโตมาก็ เจอคนเยอะต­ลอดเวลา เพราะคุณพ่อ (ม.ร.ว.เทพกมล เทวกุล) เป็นอดีตเอกอัครราชทูต มุกเลยจำเป็นต้องที่จะ ต้องช่วยคุณพ่อคุณแม่รับแขกมาตั้งแต่เด็กๆ เราจึงเข้าใจ Protocol เวลาเราเจอ­คนใหมๆ่ นเ่ี ราจะสามารถ­หาเรอ่ื งคยุ ไดต้ ลอดเวลา แตล่ กู ๆ ไมเ่ ปน็ แบบนเ้ี ลยสกั คน” (หวั เราะ)

พอพูดถึงลูกแล้วก็เลยถามใจคุณแม่ที่ลูกบินจาก อ้อมอกไปใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศทีละคนๆ เธอยิ้มบางๆ อย่างเห็นเป็นเรื่องธรรมดา “วันหนึ่งตื่นมาไม่เจอใคร

 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand