Hello! (Thailand)

THE YOUNG ACHIEVERS 2019:

นัฐธารี พันธุ์เพ็ญโสภณ ผู้สืบทอดตำนาน ‘สุกี้’ ความอร่อยกว่า 60 ปี

- PHOTOS: ALEXSIS NC MAKE-UP: @OPALFAYE_MAKEUPARTI­ST HAIR: พิชชานันท์ เวียนสันเทียะ LOCATION: MANGO TREE ON THE RIVER

เมื่อครั้งที่คุณพ่อ (คุณพิทยา พันธุ์เพ็ญโสภณ) เข้า มาช่วยดูแลกิจการร้านอาหารสไต­ล์กวางตุ้ง “โคคา สกุ ”้ี รว่ มกบั คณุ ยา่ ปทั มานน้ั ทา่ นตอ้ งยอมสละควา­มฝนั อยากเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ของตัวเอง เพราะคุณปู่ ศรีชัยเสียชีวิตกะทันหัน ความเป็นลูกทำให้ไม่อาจ ปล่อยให้บุพการีทำงานหนักคนเดียวได้ จึงรู้ซึ้งว่าการ ทำธุรกิจอาหารต้องอาศัยความทุ่มเทและความ­รักใน งานนี้เพียงใด ครั้นสิ้นคุณย่าจึงตัดสินใจถามความ สมัครใจของลูกสาวคนโต (คุณแนท-นัฐธารี) ให้แน่ใจ เสียก่อน เพราะไม่อยากยัดเยียดธุรกิจครอบครัวให้ หากลูกไม่มีใจรักที่จะทำ

หญิงสาวในวัย 21 ปีในวันนั้นตอบอย่างมั่นใจที่จะ รบั หนา้ ทน่ี ้ี เพราะรกั และผกู พนั กบั คณุ ยา่ อยากสานตอ่ ในสิ่งที่คุณย่าได้ก่อร่างสร้างมากับมือและต่อยอด ความสำเร็จที่คุณพ่อพัฒนาไว้ให้คงอยู่ต่อไป หากนับ จากวันนั้นถึงวันที่คุณแนทก้าวเข้ามารับตำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท โคคา โฮลดง้ิ อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล จำกดั อยา่ งเตม็ ตวั เมอ่ื 3 ปี กอ่ น เธอไดม้ เี วลาเตรยี มตวั สะสมความรู้ และเกบ็ เกย่ี ว ประสบการณ์ชีวิตอยู่ร่วม 10 ปีทีเดียว

ทว่า เจ้าตัวกลับยิ้มมุมปากแล้วบอกว่า ที่จริงเธอ เตรียมตัวรับหน้าที่นี้มาตั้งแต่เด็กโดยไม่รู้ตัวต่างหาก!

บ่มเพาะรักในศาสตร์อาหาร

คุณแนทย้อนเล่าถึงชีวิตวัยเยาว์ก่อนที่เธอและ น้องๆ อีก 3 คนจะทยอยถูกส่งไปอยู่โรงเรียนประจำที่ อังกฤษเมื่ออายุครบ 12 ปี เธอจำได้ดีถึงบรรยากาศ บนโต๊ะอาหาร ที่นอกจากได้อิ่มอร่อยกับฝีมือคุณย่า แลว้ หว้ งเวลาแหง่ มอ้ื อาหารนน้ั กย็ งั อยใู่ นความทรงจำ เสมอ “ครอบครัวเราถือว่าการกินอาหารคือเวลา ครอบครัวที่สำคัญ เพราะทุกคนได้อยู่ร่วมกัน ผู้ใหญ่ ได้อบรมสั่งสอนลูกหลาน ทุกคนได้แบ่งปันเรื่องราว ชีวิตในแต่ละวันเล่าสู่กันฟังในครอบครัว จึงเป็น ธรรมเนียมปฏิบัติของบ้านเราว่ามื้อเช้าและมื้อเย็น ต้องกินข้าวกันพร้อมหน้า”

ความที่คุณแนทโตมากับคุณย่าผู้ชื่นชอบและมีฝีมือ ในการปรุงอาหาร เธอจึงได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ ด้านอาหารมาจ­ากความใกล้ชิด “แนทชอบกินปลานึ่ง กบั ผดั ถว่ั ฝกั ยาวมาก คณุ ยา่ สอนมาตง้ั แตเ่ ดก็ วา่ ปลาสด ตาต้องใส ถั่วฝักยาวที่ดีต้องตรงและเต่งตึง นี่คือ บทเรียนอาหารบทแ­รกๆ ที่คุณย่าสอน ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือ หัวใจของโคคา­เลยว่าวัตถุดิบทุกอย่างต้องสดเท่านั้น”

นอกจากความ­ใกล้ชิดสนิทสนมและคลุกคลีกับ คุณย่าแล้ว ความเป็นคนไม่ชอบให้ตัวเองอยู่เฉยๆ ทุก ปิดเทอมที่กลับจากอังกฤษมาเยี่ยมบ้านที่เมืองไทย คุณแนทต้องหากิจกรรมทำตลอ­ด เริ่มตั้งแต่ตอนอายุ 12 ปี เธอติดสอยห้อยตามคุณพ่อไปทำงาน อายุ 14 ปี เธอก็ได้ทำงานแรกอย่างจริงจังที่ร้านแมงโกทรีของ ครอบครัว ทำหน้าที่ต่างๆ หมุนเวียนไป ทั้งรับออเดอร์ เสิร์ฟอาหาร คุยกับลูกค้า เธอทำงานอย่างสนุกสนาน ตลอด 2 เดือน และตื่นเต้นมากเมื่อฝึกงานเสร็จแล้ว ได้รับเงิน 2,000 บาทเป็นค่าขนม ทำให้คุณแนทมั่นใจ ว่าตัวเองสนุกและมีความสุขกับสายงานนี้

ปีถัดมาเธอขอคุณพ่อไปฝึกงานด้านเบเกอรี่ที่ร้าน Le Notre คอฟฟช่ี อ็ ปเรยี บหรสู ไตลฝ์ รง่ั เศสเจา้ ดงั ขณะ นน้ั เธออายุ 15 ปี ยงั ไมม่ ใี บขบั ข่ี ทกุ เชา้ คณุ พทิ ยาจงึ ขบั รถไปส่งลูกสาวตอนตี 4 ไม่เคยขาดตลอด 3 เดือน “ความรู้สึกตอนนั้นคือชอบมากๆๆๆ­ๆ” น้ำเสียงเธอมา พรอ้ มประกายวบิ วบั ในแววตา “การไดท้ ำสง่ิ ทช่ี อบมนั มี ความสขุ มากจรงิ ๆ คะ่ แนทโชคดที ค่ี ณุ พอ่ คณุ แม่ (คณุ เบ็ตตี้ พันธุ์เพ็ญโสภณ) สนับสนุนในสิ่งที่ลูกอยากทำ เสมอ” เมอ่ื ถามถงึ สง่ิ ทเ่ี ธอไดร้ บั จากการทำงา­นหนกั ครง้ั นั้น “แนทเรียนรู้การมีความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ จะ งอแงไม่อยากตื่นเช้าไม่ไปทำงานไม่ได้ พอไปถึงก็ต้อง คิดวางแผนในหัวว่าวันนี้ต้องทำอะไรก่อนหลังยังไง เมื่อคืนมีงานอะไรค้างอยู่บ้าง และต้องอดทนถ้าเชฟสั่ง ให้ทำอะไรก็ต้องทำ เพราะทุกคนปฏิบัติเหมือนเราเป็น พนักงานคนนึง เมื่อเขาให้โอกาสและวา­งใจให้เราทำ แลว้ แนทตง้ั ใจทำทกุ อยา่ งใหเ้ ตม็ ทท่ี ส่ี ดุ ”

คุณแนทคิดว่าคงเป็นเพราะคุณย่าได้บ่มเพาะ เมล็ดพันธุ์แห่งความรักและความหล­งใหลในอาหา­รไว้ ในตัวเธอ และโดยไม่รู้ตัว เธอก็นำพาตัวเองเข้าใกล้ ศาสตร์นี้มากขึ้นทุกทีๆ “แนทมีเป้าหมายในใจม­า ตลอดว่า เราต้องรู้ให้ได้ว่าการบริหารจัดการในร้านมี อะไรบ้าง และต้องเรียนรู้ให้หมด ให้ครบทุกตำแหน่ง ก่อนจะถึงวันที่เราได้เป็นหัวหน้าคนอื่น”

ไม่มีอะไรที่ทำไม่ได้

คุณแนทจบปริญญาตรีและโทสาขา Nutrition & Food Science จาก King’s College ประเทศอังกฤษ แตน่ น่ั กย็ งั ไมเ่ พยี งพอสำหรบั เธอ หลงั เรยี นจบคณุ แนท ได้ทำงานในครัวร้านอาหารมิชลินระดับ 3 ดาวร้านดัง ที่ลอนดอน The Fat Duck ได้ทำงานกับเชฟ Heston Blumenthal เซเลบริตี้เชฟคนแรกๆ ที่ปรุงอาหาร โมเลกุลโดยนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ ใช้ ที่เรียกกันว่า Molecular Gastronomy หากยังนึกถึง ระดับความกดดันของเธอไม่ออก คุณแนทให้เรา จินตนาการถึงการทำงานกับชาวต่างชาติที่เป็นเชฟ มิชลินทั้งร้านกว่า 30 คน ด้วยมาตรฐานร้านหรูที่ต้อง เพอร์เฟกต์ทุกกระเบียดนิ้วในแบบฉบับผู้ดีอังกฤษ ใน ขณะที่เธอเป็นเพียงเด็กจบใหม่ที่หั่นแครอตยังไม่ คล่อง แต่นั่นไม่ใช่สิ่งที่ทุกคนสนใจ

“แนททำงานใน­ส่วน Developmen­t Kitchen

เป็นแล็บที่ช่วยคิดค้นอาหารในร้านและอาหาร­ที่จะนำ ไปออกรายกา­รทีวี ทำงานได้ 4 วัน หัวหน้าเชฟถามว่า ชอบทำอาหาร­ไหม แม้จะชอบทำแต่ก็ไม่ได้ทำบ่อยและ ทักษะการทำอา­หารของเราก็ไม่ใช่เชฟ แต่นาทีนั้นก็ต้อง ตอบวา่ ‘ชอบมากเลยค­ะ่ ’” นน่ั จงึ เปน็ ทม่ี าของภารกจิ “แกง เขียวหวาน” สำหรับสตาฟกว่า 60 คนในวันรุ่งขึ้นด้วย ตวั เอง...คนเดียว!!! เธอมีเวลาเพียงชั่วโมงเดียวหลังออก จากห้องประชุมเพื่อเข้าครัว แต่กลับหาเนื้อหมูที่จะนำ มาทำไม่เจอ จนต้องไปขอเนื้อสัตว์จากเชฟคนอื่นๆ มา ทำ กระทั่งเหลืออีก 15 นาทีสุดท้าย หัวหน้าเชฟเดินเข้า ครัวมาพร้อมกับหมูที่เธอตามหา เชฟอีก 3 คนเลยต้อง มาช่วยผัดหมู เพื่อให้เธอปรุงรสน้ำแกงเขียวหวานใน หม้อใบโต “ตอนนั้นขอให้มีอาหารเสิร์ฟทันเวลาก็พอ”

เธอไม่ได้ดีใจที่ทำเสร็จแต่กลับรู้สึกพลาดที่หาหมูไม่ เจอ ขณะที่เธอทำความส­ะอาดครัวเพราะกินข้าวไม่ลง หัวหน้าเชฟเดินเข้ามาพูดกับเธอว่า ‘คุณไม่สามารถ แสดงออกว่าเครียด หงุดหงิด หรือเสียสมาธิขณะทำงาน ได้ เพราะเรากำ­ลังฝึกให้คุณไปช่วยงานรายกา­รทีวี ถ้า เมื่อไหร่ที่คุณเป็นอย่างนั้น งานจะพัง คุณต้องโฟกัส เท่านั้นเพื่อให้งานจบ’ ความรู้สึกต่างๆ ที่อัดอั้นในใจ กลายเป็นน้ำตาที่ปริ่มอยู่ขอบตา และได้ระบายออกมา ขณะที่เธอเดินกลับที่พักในเย็นวันนั้น ทว่าถึงวันนี้ คุณแนทนึกขอบคุณหัวหน้าเชฟคนนั้นเสมอที่ให้บทเรียน สำคัญที่สุดในชีวิตเธอ ที่ทำให้การเป็นผู้บริหารดูแล พนักงานเกือบ 500 คนของเธออยู่ภายใต้การควบคุม อารมณ์ได้ดีสมกับที่ได้ผ่านการฝึกอย่างหนักมาแล้ว

‘โคคา’ ในยุคเจเนอเรชั่นที่ 3

“คุณพ่อไม่ได้บอกทุกคนว่านี่คือลูกสาวผม ทุกคน ต้องเคารพและ­เชื่อฟังเธอนะ ท่านแค่เปิดทางแล้ว ประกาศกับทุกคนว่า ‘ผมรีไทร์แล้ว’ จากเมื่อก่อนที่ใส่ สูทมาทำงาน ทุกวันนี้ก็เปลี่ยนมาใส่เสื้อฮาวาย กางเกง ขาสั้นแวะเข้ามาเซ็นเช็ค ให้ทุกคนเห็นว่าท่านวางมือ แล้วจริงๆ โดยปล่อยให้แนทได้เรียนรู้การทำงานจริงและ ก้าวผ่านอุปสรรคไปให้ได้ด้วยตัวเอง นี่คือการเลี้ยงดู ของครอบครัวเราค่ะ”

คุณแนทพยายาม­ส่งเสริม ‘วัฒนธรรมโคคา­แบบใหม่’ ทง้ั ทศั นคตกิ ารทำงาน เปา้ หมายของพนกั งาน และรปู แบบ วธิ กี ารทำงาน แมเ้ ธอประกาศชดั ในวนั แรกของการท­ำงาน วา่ “ขอลองถกู ลองผดิ ไปกบั ทกุ คน” แตเ่ ปน็ ธรรมดาทก่ี าร เปลี่ยนแปลงย่อมมีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ยิ่งเป็น ทายาทเขา้ มารบั ชว่ งตอ่ ความรสู้ กึ ถงึ การเปน็ คนใหมท่ เ่ี ขา้ มาเปลย่ี นแปลงโนน่ นก่ี ด็ จู ะถกู จบั ตามากขน้ึ เปน็ พเิ ศษ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอหลกี เลย่ี งไมไ่ ดเ้ ชน่ กนั

“แนทเริ่มถามพนักงานว่า ‘ทำไมถึงมาทำงานที่นี่’ คำถามที่ฟังดูง่ายแต่หลายคนก็ตอบไม่ได้ แนทให้เขา กลับไปคิดแล้วค่อยมาตอบได้ เพราะเชื่อว่าถ้าหาจุด ประสงค์เจอ เขาจะมีความสุขในการทำสิ่งนั้นมากขึ้น ถ้าใครรู้เป้าหมายชีวิตแล้ว อยากก้าวหน้าในอาชีพ เดิน มาคุยกับแนทได้เลย นโยบายของแ­นทไม่ใช่การกำหนด KPI เพื่อวัดความสำเร็จของงานว่าคุณต้องทำอะไร บริษัทคาดหวังอะไร แนทมองกลับกัน ทำไมคุณมา ทำงานที่นี่ อยากได้อะไร และคุณจะใช้โคคาทำให้ ตัวเองประสบค­วามสำเร็จในจุดนั้นได้ยังไง อยากให้ทุก คนใช้โคคานำพาไป­สู่เป้าหมายชีวิตที่วางไว้

“อาหารอาจเป็นปัจจัยในการดำรง­ชีพก็จริง แต่

‘เราตอ้ งรู้ให้ไดว้ า่ การบรหิ าร จดั การในรา้ นมอี ะไรบา้ ง และตอ้ ง เรยี นรู้ใหห้ มด ใหค้ รบทกุ ตำแหนง่ กอ่ นจะถงึ วนั ทเี่ ราไดเ้ ปน็ หวั หนา้ คนอนื่ ’

สไตล์ร้านอาหารของ­โคคาไม่ใช่การกินเพื่อการมีชีวิตอยู่ แต่นี่คือลักซ์ชัวรีโปรดักต์ เราไม่ใช่แค่ restaurant แต่เรา เปน็ hospitalit­y โคคาเปน็ ธรุ กจิ ทท่ี ำใหค้ นฟลี กดู๊ ” คณุ แนท เริ่มต้นด้วยการใส่ใจดูแลพนักงาน เธอนำหมอนว­ดที่ เป็นผู้พิการทางสายต­าเข้ามานวดพนักงานตามสาข­า หมุนเวียนกันไป ด้วยเชื่อว่าถ้าพนักงานไม่มีความสุข แลว้ จะสง่ ตอ่ ความรสู้ กึ ดๆี ใหล้ กู คา้ ไดอ้ ยา่ งไร ขณะเดยี วกัน ก็ถือเป็นการส่งเสริมอาชีพให้กับคนตาบอดด้วย

‘ช่องว่างระหว่างพนักงานต่างรุ่น’ เป็นสิ่งที่ธุรกิจที่อยู่ มานานหลายท­ศวรรษอย่างโคคาหลีกเลี่ยงไม่ได้ “แนท อยากให้ทุกคนรู้สึกว่าที่ทำงานคือครอบครัว ทุกคนคือ เจา้ ของโคคารว่ มกนั เราเคารพปร­ะสบการณข์ องพนกั งาน อาวุโส พยายามให้เขาเห็นคุณค่าในตัวเองด้วยการ ถ่ายทอดและส่งต่อความเจ๋งของคุณให้รุ่นน้อง ส่วน พนักงานใหม่ทุกคนก็ต้องพิสูจน์ตัวเองและให้เกียรติรุ่นพี่

“ส่วนหลักการดูแลลูกน้องของแนท คือการเอาใจเ­ขา มาใส่ใจเรา ทุกครั้งที่ไปเยี่ยมสาขา จะไม่ใช่การเข้าร้าน แล้วสั่งกาแฟมานั่งจิบ แต่แนทเข้าถึงในครัว ทักทาย พนกั งานลา้ งจาน ถามเขาวา่ ‘เหนอ่ื ยไหม’ คอื รวู้ า่ ทกุ คน เหนื่อย แต่การใส่ใจถามไถ่ทุกข์สุขกับพนักงานทุก ตำแหน่งอย่างทั่วถึงเท่าที่ทำได้ แค่นี้เขาก็ดีใจแล้ว หรือ พนักงานออฟฟิศ เราก็ควรทราบและ­จำชื่อทุกคนให้ได้ แต่แนทจะให้ความสนิทสนมกับพนักงานด้วยความใส่ใจ ในเรื่องงาน แต่ไม่ยุ่งเกี่ยวเรื่องส่วนตัว”

เมื่อใน ‘บ้าน’ เป็นระเบียบเรียบร้อยและอยู่ดีมีสุข แล้ว ทุกคนก็พร้อมทำงานและ­เต็มที่ในการให้บริการ ลูกค้า ซึ่งคุณแนทยึดหลักการเข้าถึงสัมผัสทั้งห้าของ ลูกค้าผ่านทุกองค์ประกอบในร้าน เห็นได้จากนโยบาย การปรับปรุงโฉมหน้า ‘โคคา สุกี้’ ด้วยการตกแต่งที่ ทันสมัยและเข้าถึงไลฟ์สไตล์ลูกค้ามากขึ้น “เราวาง คอนเซปต์ 60s is the new 20s เน้นความมินิมอล พื้นที่ กว้างขวาง เพื่อเข้าถึงลูกค้าทุกกลุ่ม ยุคนี้มือถือกลาย เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับทุกคน เราอยากให้ทุกวินาที ของลูกค้าได้ใช้ชีวิตประจำวันอย่างไม่สะดุด แม้ในช่วง ที่กำลังอิ่มอร่อยอยู่ในร้านของเรา”

นี่จึงเป็นไอเดียการเมคโอเ­วอร์โคคาโฉมใหม่เกิดขึ้น เมื่อปลายปี 2561 ที่สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งถือเป็นสาขา แรกของ COCA 3rd Generation มีการติดตั้งอุปกรณ์ ชารจ์ แบตเตอรโ่ี ทรศพั ทม์ อื ถอื บนโตะ๊ อาหารทกุ โตะ๊ รองรบั ทั้งที่ชาร์จแบบไร้สายและแบบหัวต่อยูเอสบี สามารถ ชาร์จมือถือขณะกินอาหารได้เลย นอกจากนี้ยังตอบรับ นวัตกรรมทางกา­รเงินยุคดิจิตอลเพื่อรองรับการให้ บริการลูกค้าที่ต้องการชำระค่าอาหารผ่านระบบแอพ พลิเคชั่นที่หลากหลาย โดยเฉพาะช่องทางการชำ­ระเงิน ผ่านระบบ QR Scan บนสมาร์ทโฟนได้ทันที ตอบโจทย์ สังคมยุคไร้เงินสด

อีกหนึ่งความท้าทายของธุรกิจร้านอาหารคือการ เผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ในแต่ละวันที่ทุกอย่าง สามารถเกิดขึ้นได้ หลายคนอาจคิดว่าประสบการณ์ที่ ยาวนานของ ‘โคคา สุกี้’ คงทำให้รับมือกับเรื่องนี้ได้ ไม่ยาก คุณแนทส่ายหน้าปฏิเสธทันที “ประสบการณ์ที่ ผ่านมาอาจเป็นแค่แนวทางในกา­รแก้ปัญหา แต่ไม่ใช่ ตำราสรุปวิธีการแก้ปัญหาในสถานก­ารณ์จริงได้ทุกอย่าง แต่แนทมองเป็นเรื่องท้าทายที่จะแก้ไขสถานการณ์ เฉพาะหน้าต่างๆ ให้ผ่านไปได้ในทุกๆ วัน เพราะแนท เชื่อว่าทุกอย่างมีทางออก เลยไม่ค่อยกลัวกับอุปสรรค ค่ะ” แต่ถ้าต้องเจอกับปัญหาที่หนักหนา นอกจาก ปรึกษาคุณพ่อแล้ว อีกหนึ่งวิธีของคุณแนทคือการพูดคุย กับคนในแวดวง­ธุรกิจอื่น ได้รับรู้ความยากลำบ­ากของ เขาแล้วหันกลับมามองงานเ­รา ปัญหาที่หนักหนาของ เราก็กลายเป็นเรื่องจิ๊บจ๊อยไปเลย

“โดยรวมแล้วในความคิดแนท สิ่งที่ยากของการ บริหารธุรกิจอาหารคือการดีลกับคน เพราะหน้าที่ของ แนทเกี่ยวข้องกับพนักงานและลูกค้าซึ่งมีอุปนิสัยและ ความชอบต่างกัน แนทต้องวางตัวเป็นกรอบให้ทุกคน อยู่ในทิศทางเดียวกัน ต้องอาศัยการรู้จักยืดหยุ่นให้กับ เงื่อนไขในสถาน­การณ์ต่างๆ และต้องมีทักษะในการ ปฏิสัมพันธ์กับคน”

เป้าหมายใหญ่...สุดท้าทาย

สนทนากันมาสักพัก สัมผัสได้ถึงความภูมิใจที่ได้เข้า มาสานต่อธุรกิจครอบครัวของคุณแนท แต่นั่นยังไม่ใช่ สิ่งที่เจ้าตัวภูมิใจที่สุดเท่ากับการได้เห็นคุณพ่อมีความ สุข “การที่แนทเข้ามารับช่วงดูแลธุรกิจต่อ ทำให้คุณพ่อ ได้รีไทร์ ท่านมีเวลาไปล่องครูซที 3 - 4 เดือนอย่างมี ความสุข ในการทำงาน­คุณพ่ออาจไม่เคยชมแนทตร­งๆ แต่การที่ท่านบอกกับใครๆ ว่า ‘ผมรีไทร์แล้วนะ มีอะไร ถามลูกสาวผม’ นี่คือความไว้วางใจและคว­ามเชื่อมือว่า แนททำได้ ถึงอย่างไรแนทไม่เคยมองว่านี่คือความ สำเร็จในบทบาทที่แนทได้รับหรอกนะคะ เพราะเรา กำหนดไม่ได้ว่าความสำเร็จคืออะไร

“สิ่งที่แนททำทุกวันนี้คือการพยายาม­รักษาและ ต่อยอดสิ่งที่ครอบครัวทำไว้ คือการให้ความสำคัญกับ โภชนาการ การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ดว้ ยการเปดิ ตวั ‘โคคา บูทีคฟาร์ม’ แหล่งผลิตสินค้าออร์แกนิกส์ที่ใช้ในธุรกิจ ของเรา นอกจากนี้แนทให้ความสำคัญในการกลับมา ดูแลชุมชนด้วยการใส่ใจเกษตรกรที่ผลิตวัตถุดิบส่งให้ เรา โดยเริ่มต้นจากครอบครัวของพนักงานเราที่ทำ เกษตรกรรม แนทถือว่าเราได้ใส่ใจสุขภาพของทุกคน ตั้งแต่ต้นน้ำคือผู้ผลิต ยันปลายน้ำคือผู้บริโภค เพราะ การทำธุรกิจของโคคาไม่ได้หวังแค่ผลกำไรอย่างเดียว”

คุณพิทยาผู้เป็นพ่อได้มอบวิชั่นไว้ให้ลูกสาวคนนี้ ทำให้ ‘โคคา สุกี้’ เจ้าแรกและเจ้าเดียวที่เป็นสูตรต้น ตำรับจากกวางตุ้ง เป็นเจ้าของไอเดียการกินสุกี้ที่สั่ง วัตถุดิบเป็นจานตามใจช­อบ และเป็นเจ้าแรกที่เสิร์ฟสุกี้ ร้อนๆ ในห้องแอร์เย็นฉ่ำโดยไม่คิดค่าแอร์ ได้ดำเนิน ธุรกิจต่อไปอีก 500 ปี

“นี่คือความท้าทายที่แนทจะต้องทำให้โคคายังอยู่ต่อ ไปอย่างที่คุณพ่อตั้งใจไว้ให้ได้”

‘สงิ่ ทภี่ มู ใิ จคอื การที่ ทา่ นบอกกบั ใครๆ วา่ “ผมรีไทรแ์ ลว้ นะ มอี ะไรถามลกู สาวผม” นคี่ อื ความไวว้ างใจ และความเชอื่ มอื วา่ แนททำได’้

 ??  ??
 ??  ?? คณุ แนทในลคุ เวริ ก์ กง้ิ วแู มน
คณุ แนทในลคุ เวริ ก์ กง้ิ วแู มน
 ??  ?? (ซา้ ย) รว่ ม ‘ดำนาวนั แม’่ ณ Coca Boutique Farm จ.นครราชสีมา (ขวา) ประสบการณ์ชีวิตสำคัญ ในครัวร้านอาหารมิชลิน ระดับ 3 ดาว The Fat Duck ที่ลอนดอน (ล่าง) วันเปิดร้าน French St. รา้ นอาหารฝรงั่ เศส สไตล์ สตรที ฟดู้ ยา่ นบางรกั
(ซา้ ย) รว่ ม ‘ดำนาวนั แม’่ ณ Coca Boutique Farm จ.นครราชสีมา (ขวา) ประสบการณ์ชีวิตสำคัญ ในครัวร้านอาหารมิชลิน ระดับ 3 ดาว The Fat Duck ที่ลอนดอน (ล่าง) วันเปิดร้าน French St. รา้ นอาหารฝรงั่ เศส สไตล์ สตรที ฟดู้ ยา่ นบางรกั
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ?? คณุ แนททมี่ มุ นงั่ ชลิ ลท์ ชี่ นั้ 3 ของรา้ น ชนั้ นเี้ ปน็ สว่ นของบารเ์ ครอื่ งดมื่ และ เทอรเ์ รสนงั่ สบายๆ
คณุ แนททมี่ มุ นงั่ ชลิ ลท์ ชี่ นั้ 3 ของรา้ น ชนั้ นเี้ ปน็ สว่ นของบารเ์ ครอื่ งดมื่ และ เทอรเ์ รสนงั่ สบายๆ

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand