Hello! (Thailand)

Interview มาดามพิลา เมสคาเนน

ผู้ร่วมก่อตั้งหลักสูตรการศึกษาเชิงสร้างสรรค์จากฟินแลนด์ ‘ทางรอดในยุค AI ครองโลก คือการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์’

-

เป็นที่ทราบกันว่าการศึกษาในประเท­ศฟินแลนด์นั้นดี เป็นอันดับต้นๆ ของโลก เพราะเด็กจะได้เรียนรู้ผ่าน การเล่น (Play-based learning) โดยมีพวกเขาเองเ­ป็น ศูนย์กลาง ชาวฟินนิชทำให้การศึกษาของพวกเ­ขาดี ทัดเทียมกับหลักสูตรอื่นๆ ได้อย่างไร

HELLO! Education มีโอกาสพูดคุยกับมาดามพิลา เมสคาเนน หนง่ึ ในผรู้ า่ งหลกั สตู รศลิ ปะและสถาปตั ยกรรม ศาสตรข์ องฟนิ แลนด์ และผรู้ ว่ มรา่ งหลกั สตู รพน้ื ฐานทผ่ี สม ผสานการเรยี นรโู้ ดยใชป้ รากฏการณเ์ ปน็ ฐาน (Phenomenon­based learning) สำหรับเหตุผลในการมาเ­มืองไทยของเธ­อ ครั้งนี้ก็เพื่อเปิดอาร์คกิ (Arkki) โรงเรียนหลักสตู รการศึกษา เชงิ สรา้ งสรรคท์ ก่ี รงุ เทพฯ

“ชาวฟินแลนด์เชื่อเรื่องการเรียนรู้ผ่านการเล่น การ สนกุ กบั การเรยี นรู้ และการเรยี นรวู้ ธิ กี ารเรยี นรู้ (Learning how to learn) เพราะเราเชื่อว่าการเรียนรู้ควรจะสนุก ไม่อย่างนั้นเด็กจะไม่อยากเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปอีกนับ สิบปี เด็กทุกคนต้องมีแรงจูงใจในการเรียนรู้ เราอยาก ให้เด็กประสบความ­สำเร็จในการเรียนรู้ กระตือรือร้นกับ การเรียน และอยากเรียนอีก”

หลกั สตู รนเ้ี รม่ิ ตน้ ขน้ึ เมอ่ื ราวยคุ 80s โดย Tuuli Tiitolames­kanen คุณแม่ของมาดามพิลาซึ่งเป็นสถาปนิกและ นักการศึกษา ซึ่งได้รับเชิญเป็นหนึ่งในคณะกรรม­การ การศึกษาแห่งชาติฟินแลนด์ และเป็นผู้ร่างหลักสูตร Creative Education ที่ทางกระทรวง­ศึกษาธิการฟินแลนด์ นำมาเป็นกิจกรรมนอกหลักสูตรและได้รับการรับรอง จากสำนักงานการศึกษาแห่งชาติฟินแลนด์เพื่อส่งออก ความรู้ของฟินแลนด์ไปยังโลกภายนอก

“ฉันกับแม่เผยแพร่หลักสูตรนี้แก่สาธารณชนซึ่งถือ เป็นเรื่องใหม่มากเพราะไม่เคยมีใครในโลกทำ­แบบนี้มา ก่อน ผู้ปกครองบางค­นก็ลังเลสงสัย บางคนก็สนใจ เรา ใช้ชื่อว่าอาร์คกิ (Arkki) เขาก็ว่าชื่อฟังดูแปลกดี แต่เรา มาได้ฟีดแบ็กดีๆ หลังจากเด็กที่มาเรียนแล้วอยากเรียน ต่อ แต่ละปีมีเด็กเข้ามาเรียนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวตลอด เราจัดคอร์สและเวิร์กช็อปไปแล้วกว่า 1,000 ครั้ง ให้กับ เด็กและเยาวชน­กว่า 25,000 คนใน 20 ประเทศทั่วโลก

“ที่ยากคือผู้ปกครอง เพราะผู้ปกครองซึ่งได้รับการ ศึกษาแบบเก่ามาทำให้ไม่เห็นว่ามีอะไรใหม่ หรือทำไป ทำไม พวกเขายังอยากวัดผลด้วยว่าลูกๆ เรียนรู้การคิด เชิงสร้างสรรค์จากกิจกรรมความย­าวหนึ่งชั่วโมงได้มาก น้อยแค่ไหน แม้ว่าจะไม่สามารถวัดได้ก็ตาม”

สิ่งที่สอนและการเ­รียนรู้

ในการเรียนหลักสูตรนี้เน้นการสอนทักษะที่จำเป็น สำหรับศตวรรษที่ 21 หรือ 5Cs นอกจากจะเน้นทักษะ ในการคิดเชิงสร้างสรรค์ (creativity) แล้ว ยังสอนทักษะ การสื่อสารและทำง­านเป็นทีม (communicat­ion& collaborat­ion) ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) และทักษะการแก้ปัญหา (complex problem solving) โดยสอนผา่ นกระบวนการ Design Thinking & Phenomenon­based learning) เป็นหลัก

“ช่วงแรกๆ ที่เปิดสอนเราพบว่าคนทั่วไปยังเข้าใจผิด อยู่มาก เพราะเราสอ­นผ่านการให้เด็กออกแบบ ผลติ ภณั ฑ์ ออกแบบเสอ้ื ผา้ ออกแบบสถาป­ตั ย์ คนกเ็ ลย คิดว่าเรากำลังปั้นสถาปนิกตัวน้อย ดีไซเนอร์ตัวน้อย หรือศิลปินน้อย ซึ่งไม่ใช่เป้าหมายหลักของเรา เราไม่ได้ ต้องการศิลปินมากขนาดนั้น (หัวเราะ) บางทีการปรับ ความเข้าใจให้ถูกต้องก็ยากเหมือนกัน

“ที่เราสอนผ่านการออกแบ­บสถาปัตย์เพราะมัน เป็นการเรียนรู้แบบพหุสาขาวิชา (multidisci­plinary) ซึ่งมี หลายมิติ ต้องใช้ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยา ศาสตร์ และศิลปะ ทำให้เด็กเข้าใจคำว่า ปริมาตร (volume) หรือสูตร (formula) ถ้าเด็กเข้าใจและสามา­รถ เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับชีวิตจริงได้ก็จะดีเลย

“เดก็ ทจ่ี บไปกระจายไ­ปทว่ั ทกุ วงการคะ่ ” มาดามพลิ า บอกกับเราพร้อมรอยยิ้ม “เพราะเราสอ­นเด็กไปแล้ว มากกว่า 25,000 คน จึงมีหลากหลายอา­ชีพมาก บาง คนก็เป็นสถาปนิก วิศวกร หมอ หรือไม่ก็ทนายความ นั่นคือเหตุผลว่าเพราะอะไร­เราถึงเน้นเรื่องความคิด สร้างสรรค์ ซึ่งถ้าคุณอยากเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่เก่ง คุณก็ต้องมีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถคิดอะไร บางอย่างที่ไม่มีใครรู้ หรือยังไม่สามารถพิสูจน์ได้”

มาดามพิลาให้ความสำคัญกับการคิดเชิงสร้างสรรค์ ไม่ใช่เพราะอยู่ในเทรนด์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเพราะ ชีวิตจริงที่เด็กต้องเผชิญ “ทุกวันนี้ความรู้อย่างเดียว ไม่เพียงพอแล้ว เพราะคอมพิวเตอร์บรรจุความรู้ไว้ มากมาย การเพิ่มขีดความสามาร­ถของมนุษย์ทางด้าน ความคิดสร้างสรรค์จึงมีความสำคัญมาก รวมทั้งการ สื่อสาร การร่วมมือ และทักษะต่างๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ยังพัฒนาไปไม่ถึงจุดนี้”

20 ประเทศที่มาดามพิลาไปตอกหมุดหลักสูตรนี้ เริ่มต้นด้วยฟินแลนด์ จากนั้นกรีซและไซปรัส เธอเล่า ด้วยสีหน้าเปี่ยมสุขว่า

“ทก่ี รซี เราเปดิ เปน็ กจิ กรรมหลงั เลกิ เรยี นเทา่ นน้ั ไมไ่ ด้ บรรจุในหลักสูตรของประเท­ศ เวียดนามเป็นประเทศ แรกในเอเชียที่เราไปเปิดสอน วันนี้ฉันเพิ่งทราบว่าเรา ประสบความส­ำเร็จมากที่นั่นโดยใช้เวลาเพียง 6 เดือน และรัฐบาลเวียดนามก็เลยจะปรับหลักสูตรบางส่วนไป บรรจุในหลักสูตรของกระทร­วงศึกษาธิการเวียดนาม ฉันฟังแล้วรู้สึกทึ่งมาก (หัวเราะเบาๆ) หลังจากจับงานนี้ มาหลายสิบปี พอได้ยินข่าวนี้ฉันก็เลยมีความสุขมาก เพราะได้พบกับคนที่เชื่อเหมือนกัน ได้แบ่งปันแนวคิดนี้ กับพวกเขา

“ฉันอยากบอกผู้ปกครองว่า ควรเปิดกว้าง อย่า ปักใจเชื่อในความคิดเก่าๆ แต่จงอ่านและเริ่มต้นด้วย ตัวเอง ไม่จำเป็นต้องเลือกอาร์คกิ แต่ควรมองหาอะ­ไร ใหม่ๆ มากกว่าสิ่งเก่าๆ”

‘แต่ละปีมีเด็กและเยาวชน­กว่า 25,000 คนจาก 20 ประเทศทั่วโลก มาเรียนกับเรา เราจัดคอร์สและเวิร์กช็อปไปแล้วกว่า 1,000 ครั้ง’

 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand