Daily News Thailand

‘ศิลปะมวยไทย’

-

เห็นลีลานักชกจากต่างแดน ที่บรรจงวาดลีลาแม่ไม้ มวยไทย ตามเวทีมวยทั้งในเมืองไทยและต่างประเทศ เดี๋ยว นี้ต้องบอกว่าไม่ธรรมดากันเลยทีเดียว ทำาให้วันนี้การ สอนเพื่อเรียนรู้ในเชิง “ศิลปะมวยไทย” กลายเป็นศาสตร์อย่าง หนึ่ง และเป็นการออกกำา­ลังกายอีกแขนงหนึ่งที่มีความงดงาม งาม อ่อนช้อย

ในความพยาย­ามของ “ครูอำานวย แตงไทย” รองผู้อำานวย นวย การโรงเรียนชลประทาน­วิทยา อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี เป็นอีกคน คน หนึ่งที่ได้นำาแก่นของ “มวยไทย” มาถ่ายทอดให้กับเด็กและเยาวชน ชน รุ่นใหม่ ให้เข้าใจและเข้าถึงหัวใจของ “มวยไทย” ในเชิงศิลปะ ปะ และการออกก­ำาลังกายอย่างหนึ่ง

“ครอบครัวของผม เราเป็นครอบครัวมวยไทยทั้งบ้าน ลููก ลูก ทั้งสามคนของผ­ม พวกเขาสนใจ­ในมวยไทยมา­ตัั้งแต่เด็ก เริ่มจาก จาก การไปเรียนรู้ที่ศูนย์สอนศิลปะมวยไทย อ.เมืองนนทบุรี ที่สมัยนั้น นั้น อดีตนายอำาเภอ­เมืองนนทบุรี คุณวัชรินทร์ โรจนพาณิชย์ เป็นผู้ก่อ ก่้อ ตั้งขึ้น แต่ต่อมาศูนย์ต้องปิดตัวลง ผมจึงสานต่อภารกิจเหล่านั้นด้วย ด้วย ตนเอง ทั้งสอนลูกตัวเอง และเด็กทั่วไปในจังหวัดนนทบุรี โดยเน้น น้น ให้เขารู้จักทั้งแม่ไม้มวยไทย และคีตมวยไทย ทั้งปี่มวยและการ การ แสดงโชว์มวยไทย”

ครูอำานวย ยังเล่าต่อว่า ตัวเองต้องดั้นด้นไปหาวิชาความรู้ ามรู้ ู เรื่องแม่ไม้มวยไทยจนไป­พบครูมวยเสน่ห์ ทับทิมทอง ที่เพชรบุรี รบุรี ท่านได้ถ่ายทอดความรู้เพิ่มเติมมาให้ จึงนำามาผสมผ­สานกับการ บริหารจัดการเพื่อเดินหน้าฝึกแม่ไม้มวยไทย สามารถนำาไ­ปสู่การ แสดงโชว์จนได้รับการยอมรับ

“อย่างหนึ่งที่ทำาให้เด็ก ๆ ทุกคนที่มาอยู่ในศูนย์มวยไทย ของเราในตอ­นนั้นคือ การมีระเบียบวินัยในการฝึกซ้อม การเรียน รู้ต่าง ๆ จนนำาไปสู่การแสดง โชว์ ที่มีทั้งหน่วยงานราชกา­รและเอกชนติดต่อเข้ามา เด็ก ๆ ก็เริ่มไป โชว์แม่ไม้มวยไทย ทั้งรำามวยไทย ไหว้ครูมวยไทย โชว์ปี่มวยไทย ทำาให้พวกเขาได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปะมวยไทยไ­ปด้วย คนที่ได้รับชมก็ชอบใจ เพราะเด็ก ๆ มีความน่ารักและแข็งแรง อยู่ในตัว”ู

แม้จะพอมีรายได้มาบ้างจากการไป­แสดงโชว์ต่าง ๆ แต่ “ครู อำานวย” บอกว่า รายได้ทั้งหมดที่ได้จะแบ่งให้เด็ก ๆ ทุกคนที่มีส่วน ร่วม ถือเป็นรายได้เล็ก ๆ น้อย ๆ ให้เด็กได้รู้จักคุณค่าของการหาร­ายได้ ไปในตัว ซึ่งมาถึงวันนี้มีหลายคนที่นำาความรู้เรื่องแม่ไม้มวยไทยมาต่อ ยอดเป็นอาชีพอย่างเป็นเรื่องเป็นราว

อย่างหนึ่งที่ต้องบอกว่าเป็นงานที่เลี้ยงชีพ รายได้หากมีการฝึกฝนอย่างจริงจังร คือ “ปี่มวย” ซึ่งมวยไทยในทุกสนามจะต้องมีซึ “ดนตรีปี่ มวย” เชิด-บรรเลง ประกอบการช­กมวยไทย แต่วันนี้มีน้อยคนที่จับ “ปี่มวย” เป็นเรื่องเป็น ราวอย่างจริงจัง โดยที่ “ครูอำานวย” มองเห็น จุดนี้จุ ุ จึงสนับสนุนลูกชาย “ธิติวุฒิ แตงไทย” ให้เดินในสายนี้อย่างจริงจังใ จนขึ้นชั้น “มือปี่” แถวหน้าของแวดวงคีตมวยไทยแ

มาวันนี้ “ครูอำานวย” ได้จัดตั้ ง “ชมรม อนุรักษ์ศิลปะมวยไทย”อ ขึ้นในโรงเรียน ชลประทานวิทยา นนทบุรี ภายใต้การสนับสนุนของผู้จัดการ โรงเรียน นายจรูญ พจน์สุนทร ที่จะเน้นเรื่องการสอนแม่ไม้ มวยไทย และคีตมวยไทย ให้เด็กนักเรียนได้รู้จักศาสตร์แขนงนี้ใน แง่ศิลปะ ที่ไม่เน้นเรื่องความรุนแรง

และในวันที่ 10 ก.ย. 2559 นี้จะมีงานเปิดตัวชมรมอย่าง เป็นทางการ ที่โรงเรียนชลประทาน­วิทยา นนทบุรี เพื่อจะเป็นศูนย์ ถ่ายทอดและสร้างการเรียนรู้เรื่องของศิลปะมวยไทย รวมทั้งฝึกฝน เรื่องการแสดงโ­ชว์มวยไทย ให้นักเรียนได้เรียนรู้และกล้าแสดงออก ได้อีกด้วย

ส่วนถ้าใครจะต่อยอดในอนาค­ตไปสู่การยึดเป็นอาชีพ หรือ อยู่ในเส้นทางงานที่เกี่ยวเนื่องกับ “มวยไทย” ที่ไม่จำาเป็นต้องเป็น “นักมวย” ก็เป็นเส้นทางทางหนึ่งที่เปิดโล่งรออยู่เช่นกัน เพราะวัน นี้ทั่วโลกยอมรับและรู้จัก “มวยไทย” เป็นอย่างดีแล้ว จึงเป็นอีก ทางหนึ่งที่น่าสนใจหากจะ­เรียนรู้เช่นกัน.

 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand