Daily News Thailand

‘ที่เก็บส�ยช�รจ์มือถือ’

-

จอย-เพ็ญติมาส กระมุท ผู้ที่สร้างสรรค์ชิ้นงานอย่าง “ที่เก็บสายชาร์จโทรศัพท์มือถือ” เล่าว่า...สำาหรับงานที่เก็บ สายชาร์จโทรศัพท์นี้เกิดจากความที่รู้สึกรำาคาญกับสายชาร์จ แบตเตอรี่โทรศัพท์ที่มีความยาว เวลาเก็บใส่กระเป๋ามักจะชอบ พันกันรุงรัง จึงเกิดความคิดว่าน่าจะหาอะไรม­าจัดเก็บให้เป็น ระเบียบเรียบร้อย จึงเกิดไอเดียการทำาที่เก็บสายชาร์จโทรศัพท์ มือถือขึ้นมา

“คิดว่าน่าจะทำาได้ไม่ยากเพราะเป็นคนที่ชอบพวกงานศิลปะวาด รูปเพนท์ภาพและพวกง­านประดิษฐ์การเย็บผ้าอยู่แล้ว พอมีไอเดียความ คิดที่จะทำาก็เริ่มไปค้นหาศึกษาวิธีการทำารวมทั้งไอเดียการทำาจาก อินเทอร์เน็ต จากนั้นก็เริ่มฝึกหัดทำา ใช้เวลาลองผิดลองถูกไม่นานก็ สามารถทำาอ­อกมาได้อย่างที่ตั้งใจ ตอนแรกเริ่มจากทำาใช้เองก่อน ต่อ มาก็ลองถ่ายรูปชิ้นงานที่ทำาไปโพสต์ลงอินสตาแกรม เพื่อน ๆ เห็นก็ชอบ และสั่งออร์เดอร์เข้ามากันเยอะ จึงเป็นจุดเริ่มต้นในการทำาชิ้นงานนี้ขาย จนถึงปัจจุบันขายมาได้ 1 ปี แล้ว” เจ้าของชิ้นงานกล่าว

ทุนเบื้องต้น ใช้เงินลงทุนประมาณ 1,000 บาท ทุนวัสดุ อยู่ที่ ประมาณ 50% จากราคา ซึ่งราคาขายเริ่มตั้งแต่ 50-150 บาทต่อชิ้น ขึ้น อยู่กับรูปแบบของชิ้นงาน

วัสดุอุปกรณ์ ที่จำาเป็น หลัก ๆ ประกอบด้วย... ผ้าดิบ, เข็ม, ด้าย, ลวด, ตีนตุ๊กแก, ใยโพลีเอสเตอร์, กรรไกร, ดินสอ, สีอะคริลิก, พู่กัน ขั้นตอนการทำา...ที่เก็บสายชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ เริ่มจากการออก­แบบก่อน เพราะไม่ว่าจะเป็นทั้งแบบที่คิดเองหรือ แบบที่ลูกค้าสั่งทำาก็ต้องทำาการวา­ดแบบก่อน โดยการวาดแ­บบลงบนกระด­าษ ลงสีตามที่ต้องการให้เรียบร้อย ถ้าเป็นของลูกค้าสั่งก็ส่งแบบที่วาดให้ลูกค้า ดู ถ้าถูกใจถึงจะลงมือทำา การทำานั้นเริ่มจากการทำา­แพตเทิร์นโดยการวาด แบบที่ต้องการทำาลง­บนกระดาษแข็ง่ ง ทำาการตัดกระดาษตาม­แบบ ซึ่งแพตเทิร์น ที่ได้ประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนก้าน และส่วนตุ้ม

จากนั้นนำาแพตเทิร์นวางทาบลง บนผ้าดิบ ใช้ดินสอร่างเส้นตามแพตเทิร์น น แล้วทำาการตัดผ้าตามแบบที่วาดไว้ ก็จะได้แบบ แบบ ผ้า 6 ชิ้น แบ่งเป็น ส่วน ที่เป็นหัว 2 ชิ้น ส่วนที่ เป็นก้าน 2 ชิ้น และส่วน ที่เป็นตุ้ม 2 ชิ้น

ขั้นต อ นกา ร เย็บ นำาแบบผ้าที่เป็น ส่วนหัวทั้งสองชิ้นมา ทำาการประก­บกัน ใช้เข็ม หมุดกลัดไว้ และใช้เข็ม และด้ายเย็บเดินตาม แนวขอบจนเกือบรอบ เหลือช่องไว้สำาหรับกลับ ด้านและยัดใยโพลีเอสเตอร์ เย็บเสร็จแล้วก็ทำาการกลับด้านเอาผ้าด้านในออก มา และทำาการยัดใยโพลีเอสเตอร์เข้าไปให้แน่น ในส่วนที่ก้านและส่วนตุ้ม ก็ทำา วิธีเดียวกันกับส่วนหัวโดยการเย็บแล้วยัดใยโพลีเอสเตอร์

หลังจากเตรียมทั้ง 3 ส่วนเสร็จแล้วให้นำาทั้งหมดมาเย็บประกอบติด เข้าด้วยกัน จากนั้นมาทำาการเ­พนท์ลงสีตามแบบที่ต้องการหรือแบบที่ลูกค้าสั่ง อาจจะใช้ดินสอร่างรูปลงบนส่วนหัวก่อนแล้วค่อยทำาการลง­สีอะคริลิกตามแบบ ที่ออกแบบไว้ก็ได้ถ้ายังไม่ชำานาญ ถ้ามีความชำานาญ­ก็สามารถเพนท์ลงสีเป็น รูปแบบที่ต้องการได้เลย หลังจากตกแต่งลงสีวาดลวดลายเ­สร็จก็รอจนสีแห้ง สนิทเท่านี้ก็เป็นอันเสร็จ

เจ้าของชิ้นงานระบุว่า ที่เก็บสายชาร์จโทรศัพท์นี้ มี 3 รูปแบบ ได้แก่ แ แบบ Minimal ตัวสินค้าทำาจาก ผ้าดิบและติดด้วยตีนตุ๊กแก มีขนาด กว้าง 4 เซนติเมตร ยาว10 เซนติเมตร (เมื่อยังไม่ติด) แบบ So Cute ประกอบด้วย ส่วนหัว ก้าน และส่วนตุ้ม หัวขนาดเส้นผ่าน ศู ศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร ก้านยาว 202 เซนติเมตร และตุ้มขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร และ แบบ Depend on you เป็นแบบที่ ลูกค้าคิดแบบเองลู โดยส่วนมากจะ สั่งทำาเป็นหน้าตัวเอง...ส “ชิ้นงานจะมีการพัฒนารูปแบบ ลว ลวดลายออกม­าใหม่เรื่อย ๆ โดยทุกเดือน จะ จะมีชิ้นงานรูปแบบใหม่ออกมาประมา­ณ 3-5 แบบ รูปแบบที่ทำาออกมาส่วนใหญ่จะ เน้นทำาตา เน้นทำาตามสถา­นการณ์ ตามแฟชั่น ทำารูปแบบ ทีีีี่ ที่กำาลังเป็นที่นิยมกำาลังเป็ ลูกค้าจะได้มีรูปแบบที่เก็บสาย ชาร์จไว้เลื ชาร์จไว้เลือกได้หลากหลาย นอกจากนี้ลูกค้ายัง สามารถสั่งทำาได้ตามต้องการสามาร­ถส โดยเราจะร่าง แบบให้ดูจนกว่าลูกค้าจะพอใจแบบ­ให้ดูจ ก่อนทำาชิ้นงานทุก ครั้ง” เจ้าของผลงานก­ล่าวเจ้าขอ พร้อมทั้งให้คำาแนะนำาส­ำาหรับผู้ที่สนใจอีกว่า...พร้อ สำาหรับชิ้นงานที่เก็บสายชาร์จโทรศัพท์มือถือสำาหรับชิ้นงานที เป็นงาน แฮนด์เมดงานฝีมือ แฮนด์เมดงานฝีมือที่ทำาไม่ยาก สามารถฝึกหัดทำาได้ไม่ยาก ใช้ความรู้พื้นฐานในเรื่อ ใช้ความรู้พื้นฐานในเรื่องของงานตัดเย็บและความรู้ด้านศิลปะ การวาดการเ­พนท์สีก แต่ก็ต้องเริ่มจากมีใจรัก มีความคิดสร้างสรรค์ และที่ สำาคัญที่สุดคือความใส่ใจในความต้องการของลูกค้าส

สนใจงาน “ที่เก็บสายชาร์จโทรศัพท์” สามารถเข้าไปดูสินค้า หรือ ติดต่อสั่งซื้อติ ได้ทาง www.facebook.com/เกษตรเค้าหล่อ และ www. blisby.com/search?search=smart+farmerb ทั้งนี้ งานแฮนด์เมดงาน ประดิษฐ์ที่ผสมผสานงาน­ศิลปะการเพนท์สีลงลวดลายทำ­าให้สินค้าดูโดดเด่น ยังสามารถใช้เป็น “ช่องทางทำากิน” ได้อยู่เสมอ ขอแค่มีความคิดสร้างสรรค์ และทำาชิ้นงานออกมาใ­ห้มีเอกลักษณ์.แ

บดินทร์ ศักด�เยี่ยงยงค์ : ร�ยง�น

ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหา­ร จะต้องได้เครื่องหมายรับรอง มาตรฐานการ­ผลิตต่าง ๆ 8. การใส่ใจบรรจุภัณฑ์ (Package) บรรจุภัณฑ์ที่ดีควรมีคุณสมบัติพื้นฐานที่ สำาคัญ 2 ประการ คือต้องป้องกันและรักษาคุณภาพ สินค้าได้กับต้องส่งเสริมการขายด้วย 9. การรักษา อัตลักษณ์สินค้า (Identity) การออกแบบพัฒนา ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ต้องสื่อถึงตัวตนกับประโยชน์ ใช้สอยของสินค้านั้นได้ชัดเจน และไม่ผิดเพี้ยน รวมถึง ต้องสามารถสร้างการรับรู้ให้ผู้บริโภคจดจำาผลิตภัณฑ์ ได้ และ 10. การระมัดระวังเรื่องของต้นทุน (Cost) ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องคำานึงถึงควบคู่ไปกับการออกแบบ­และ พัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เพราะการคว­บคุมต้นทุน ที่ผิดพลาดจะนำา­ไปสู่การตั้งราคาที่สูงเกินความเหมาะ­สม จนทำาให้ไม่สามารถสร้างยอดขายได้อย่างที่คาดการณ์ นี่ก็เป็นแนวทางที่ SMEs น่านำาไปพิจารณา สามารถนำาแ­นวทางนี้ไปปรับใช้ได้...

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand