Daily News Thailand

‘เลือดกำาเดาไห­ลในเด็ก

-

- มีปัสสาวะสีนำ้าล้างเนื้อ หรืออุจจาระสีดำาคล้ายยางมะตอย หรือปนเลือดร่วมด้วย - เมื่อเด็กมีไข้สูงร่วมด้วย - เมื่อเด็กมีอาการเวียนศีรษะ เหนื่อยง่าย กระฉับกระเฉง หรือซีดลง

โดยปกติร่างกายของเร­าจะมีเกล็ดเลือด ซึ่งเป็นส่วนประกอบ ของเลือดชนิดหนึ่ง ทำาหน้าที่ในการป้องกันเลือดออกและช่วยในการ หยุดของเลือดหากเกิดบาดแผล อาการเลือดกำาเดาไห­ลจึงอาจเป็น อาการแสดงข­องโรคเลือดที่ทำาให้เกล็ดเลือดลดจำานวน­ลงหรือทำางาน ผิดปกติ จึงทำาให้มีเลือดออกง่ายจากเยื่อบุต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งโรคที่ถ่ายทอด ทางพันธุกรรม หรือโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง

- โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งทำาให้เกล็ดเลือดทำางานผิด ปกติ เช่น โรควอนวิลล์แบรนด์(von Willebrand disease - VWD) อ่อนเพลีย ไม่ ซึ่งอาจมีประวัติเลือดออกง่ายหยุดยากในครอบ­ครัว ร่วมด้วย

- โรคที่เกิดขึ้นภายหลังซึ่งทำาให้เกล็ดเลือดมี ปริมาณตำ่าลง เช่น โรคเกล็ดเลือดตำ่าจากภูมิต้าน ทานตนเอง (immune thrombocyt­openia -ITP) ซึ่งเป็นภาวะเกล็ดเลือดตำ่าที่พบบ่อยในเด็ก ภายหลังโรคติดเชื้อประมาณ1-3 สัปดาห์ หรือหลัง ได้รับการฉีดวัคซีน โรคไขกระดูกฝ่อทำาให้ร่างกาย ไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดทุกชนิดได้อย่างพอเพียง ทำาให้มีโลหิตจาง ติดเชื้อง่ายเนื่องจากมีเกล็ดเลือด ขาวตำ่าลง และเกล็ดเลือดตำ่าทำาให้เลือดออกง่าย หรือโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่มีเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวแทรกซึมอยู่ ในไขกระดูก ทำาให้สร้างเม็ดเลือดที่ปกติได้ลดลง

นอกจากนี้ในรายที่มีเลือดกำาเดาไห­ลบ่อย ๆ และเป็นเวลานาน อาจทำาให้เด็กเกิดภาวะซีดจากการสูญเสีย เลือดเรื้อรัง จนเกิดภาวะซีดจากการขาด­ธาตุ เหล็ก สังเกตอาการง่าย ๆ หากเด็กมีอาการ เวียนศีรษะ เป็นลมง่าย หรือ เหนื่อยง่าย ให้ ผู้ปกครองรีบพาเด็กไปพบแพทย์เพื่อตรวจ เลือด และรับยาธาตุเหล็กไปรับประทาน

วิธีปฐมพยาบาลเ­บื้องต้นหากลูกน้อย มีเลือดกำาเดาไห­ล ดังนี้

1. ให้เด็กนั่งตัวเอียงไปข้างหน้า และ ให้ศีรษะก้มลงเล็กน้อย เพื่อให้เลือดไหลออก ทางจมูกแทนที่จะไหลลงคอ ซึ่งอาจทำาให้เด็ก อาเจียนออกมาเป็นเลือดจากที่กลืนเข้าไป

2. ใช้มือบีบจมูกบริเวณปีกจมูก เบา ๆ ในข้างที่มีเลือดกำาเดาไห­ล อย่างน้อย 10 นาที และหากเลือดยังไม่หยุดไหลนานเกิน 30 นาที ให้รีบพาเด็ก ไปพบแพทย์ วิธีป้องกันมิให้มีเลือดกำาเดาไห­ลทำาได้ง่ายเบื้องต้น ดังนี้ 1. ป้องกันมิให้บริเวณเยื่อบุจมูกแห้ง เพื่อไม่ให้คัน ลดการแคะ จมูก โดยการใช้นำ้าเกลือหยอดจมูก หรือทาวาสลินเคลือบในรู จมูก ก่อนนอน 2. ดูแลอากาศในห้องนอน ไม่ให้แห้งเกินไป 3. การรับประทานผัก ผลไม้ หรือ วิตามินซี เพื่อช่วยให้หลอด เลือดฝอยในจมูกแข็งแรง เลือดกำาเดาไห­ลออกน้อยลง

ข้อมูลจ�ก รองศ�สตร�จ�รย์ แพทย์หญิงด�รนิทร์ ซอโสตถิ กุล ฝ่�ยเผยแพร่คว�มรู้สู่ประช�ชน สม�คมโลหิตวิทย�แห่ง ประเทศไทย.

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand