Daily News Thailand

‘ตร�ปมั๊’ จ�ก ‘ย�งลบ’ ทุนไม่สูง.. สร้�งร�ยได้น่�สน

-

ารนำางานศิลปะมาผนวกผ­สมผสานเข้ากับงานฝีมือ สร้างเป็นชิ้นงานทำาให้ดูโดดเด่นสวยงาม สินค้ามี เอกลักษณ์มีความแตกต่าง สร้างจุดขายให้กับชิ้นงานได้ อย่างดี อย่างเช่นงานของ “อุ้ย-เก็จมณี บุญมงคล” ที่ใช้ ทักษะฝีมือการแกะสลักมาสร้างชิ้นงาน “แกะยางลบ” เป็น รูปภาพต่าง ๆ ทำาเป็น “ตราปั๊มจากยางลบ” เป็นสินค้าน่า รัก ๆ ที่สามารถสร้างรายได้ ได้อย่างน่าสนใจ ที่วันนี้ทีม “ช่องทางทำากิน” มีข้อมูลมานำาเสนอ...

อุ้ย-เก็จมณี เจ้าของแบรนด์ Maemanii ที่ผลิตชิ้น งานแกะยางล­บ เล่าว่า จบการศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ เอก ภาษาไทย จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยหลังจากที่เรียนจบก็เข้าทำางาน ประจำา ซึ่งทำาอยู่ได้ระยะหนึ่งก็ลาออกมาเปิดร้านขายเสื้อผ้า ช่วงที่เปิดร้าน มีเวลาว่างพอสมควรก็มักจะหากิจกรรมอื่น ๆ ทำาไปด้วยทั้ง อ่านหนังสือ วาดรูป และทำางานฝีมือกระจุกกระจิกไปเรื่อย จนเมื่อประมาณ 3-4 ปีที่ แล้ว มีเพื่อนที่เห็นว่าเราชอบงาน­ฝีมือ เอาคลิปเกี่ยวกับการแกะยาง­ลบ ให้ดู ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ทำาให้ได้รู้จักกับงานแกะยาง­ลบทำาให้เกิดความสนใจ ในงานตัวนี้ และก็มาคิดว่าไม่น่าจะทำายากจึงตัดสินใจไปหาซื้ออุปกรณ์มา ลองทำา ซึ่งก็ฝึกหัดทดลองทำาล­องผิดลองถูกด้วยตัวเอง นั่งแกะยางลบทั้ง วันในที่สุดก็เริ่มแกะได้เป็นชิ้นเป็นอัน แต่กว่าจะแกะชิ้นงานออกมาดูสวยก็ ต้องใช้เวลาฝึกนานพอสมคว­ร

“ช่วงแรกแค่แกะเล่น ๆ ทำ�เก็บไว้ใช้เอง ต่อม�ได้เปิดเพจเฟซ บุ๊กชื่อ Maemanii’s Happiness (คว�มสุขของแม่มณี) เพื่อเอ�ไว้ รวบรวมผลง�นเก็บไว้ดู โดยยังไม่มีคว�มคิดที่จะทำ�เป็นอ�ชพี แต่หลัง จ�กที่โพสต์ชิ้นง�นที่ทำ�ไปเพื่อนหล�ยคนเห็นก็ม�จ้�งให้ทำ� เริ่มมี ออร์เดอร์แค่เล็ก ๆ น้อย ๆ ประปร�ย แต่ก็ไม่ม�ก จนมีโอก�สได้ไป ออกร้�นข�ยง�นแกะย�งลบที่ง�นหนึ่ง ด้วยชิ้นง�นที่ทำ�ด ้ว ยคว�ม ตั้งใจใส่ใจในทุกร�ยละเอียดทำ�ให้ชิ้นง�นที่ทำ�นั้นมีคุณภ�พสวยง�ม ทำ�ให้ลูกค้�ทเห็ี่นง�นเร�ชนื่ชอบ เริ่มทำ�ให้มีคนรู้จักม�กขึ้นมีออร์เดอร์ เข้�ม�ม�กขึ้น จนในที่สุดตัดสินใจเลิกข�ยเสื้อผ้�หนัม�แกะย�งลบทำ� เป็นอ�ช ีพ หลักข�ยอย่�งจริงจัง ซึ่งก็ทำ�ข�ยม�จนปัจจุบันก็ประม�ณ 3 ปีแล้ว” เจ้าของชิ้นงานกล่าว

...กลุ่มลูกค้ามีหลากหลายตั้งแต่วัยเด็กไปจนถึงผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่ มักจะสั่งทำาไว้เพื่อเป็นของขวัญั ั่ ำ ไ ้ ่ ื ป็ ั และงานที่ทำาส่วน่ ี ำ ่ ใหญ่จะเป็นแบบสั่งทำาเป็นแบบเฉพาะข­องลูกค้า เช่น แกะเป็นภาพเหมือน เป็นการ์ตูนที่วาดจากรูป ถ่าย เป็นโลโก้หรือนามบัตร มีลูกค้าบางคนที่มีกิจการร้านค้าเล็ก ๆ ก็จะมา สั่งทำาตราปั๊มยี่ห้อของร้านเขาและเอ­าไปปั๊มกระดาษทำา­เป็นป้ายห้อยสินค้า หรือปั๊มบนถุง บนกล่อง ทำาแพ็กเกจเองได้แบบง่าย ๆ ซึ่งไม่ต้องลงทุนทำา แพ็กเกจราคาแพ­ง...

ทุนเบื้องต้นสำาหรับการทำาชิ้นงานลักษณะนี้ ใช้ประมาณ 500-1,000 บาทก็สามารถทำาไ­ด้แล้ว ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนไปกับการซื้อยางลบสำาห­รับ ไว้ทดลองทำา รวมทั้งเก็บเป็นสต๊อกไว้ใช้ ส่วนทุนวัสดุอยู่ที่ประมาณ 30% จากราคาขาย ซึ่งราคาขายเริ่มตั้งแต่ชิ้นละ 50 ไปจนถึง 1,500 บาท ขึ้น อยู่กับขนาดของชิ้นงาน และลวดลาย รวมถึงความยากง่ายของแบบ

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะยา­งลบทำา “ตราปั๊มจากยางลบ” หลัก ๆ ประกอบด้วย ยางลบ, มีดแกะ (คัตเตอร์ปากกา) หรือคัตเตอร์ ธรรมดาก็พอได้, แผ่นรองตัด, กระดาษไขสำ­าหรับลอกลาย หรือกระดาษ ลอกลาย, หมึกปั๊ม, ดินสอ 2B(เอาไว้วาดลายลงกร­ะดาษ)

“ง�นแกะย�งลบเป็นง�นที่ใช้ทุนในเรื่องของวัสดุไม่ม�ก มีแค่ ย�งกับมีดแกะ ก็ส�ม�รถทำ�ได้แล้ว แนะนำ�ว�่ชว่งฝึกแกะให้ใช้ย�งลบ ธรรมด� ๆ ก้อนละประม�ณ 7 บ�ท ฝึกแกะไปก่อนยังไม่ต้องใช้ย�งที่ แพงม�ก ถ้�ฝึกทำ�จนชำ�น�ญทำ�ข�ยได้ให้ใช้เป็นย�งลบญี่ปุ่นแกะให้ ลูกค้� ร�ค�อ�จจะสูง แต่คุณภ�พดีและทนกว่�ย�งลบทั่วไป” เจ้าของ ชิ้นงานแกะยาง­ลบนี้แนะนำา ขั้นตอนการทำา... “การแกะยางล­บเป็นตราปั๊ม” เริ่มจากวาดรูปหรือลวดลายที่ต้องการลงบนก­ระดาษไข จากนั้นนำา พัฒน�เพิ่มขึ้นได้ไม่ย�ก”

สนใจ “งานแกะยางล­บ” ทำาเป็น “ตราปั๊ม” ของแม่มณี ก็เข้าไป ติดตามดูสินค้าได้ที่ เพจเฟซบุ๊ก : Maemanii’s Happiness หรืออิน สตาแกรม : maemanii_s_happiness นอกจากนั้นแม่มณียังรับสอน การแกะยางล­บ หากใครสนใจ­อยากเรียนการแกะยา­งลบ เพื่อเป็นกิจกรรม ยามว่าง หรือจะเรียนเพื่อนำาไปประก­อบอาชีพ ก็ลองติดต่อสอบถามได้ ซึ่ง สำาหรับคนที่สนใจ “อาชีพแกะยางลบ” แบบนี้ ถ้าตั้งใจทำาจริง หมั่นฝึกฝน พัฒนาฝีมือก็สามารถใช้เป็น “ช่องทางทำากิน” ใช้สร้างงานสร้างเงินได้ อย่างน่าสนใจ. เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาไว้ ดังนี้...

ผู้ประกอบการสิ่งทอเจ้าของกรณีศึกษานี้ ระบุ ว่า การผลิตแบบลีนไม่ได้จำาเพาะเพียงแค่อุตสาหกรรม รถยนต์เท่านั้น แต่สามารถนำาม­าประยุกต์ใช้เข้ากับ แต่ละอุตสาหกรรมได้ เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมสิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม โดยผู้ประกอบการร­ายนี้ เริ่มจากการ จัดกระบวนการ­ผลิตในจัดก สายการผลิตใหม่ และแยกทีมการ ผลิตตามสินค้าให้ ชัดเจน เพื่อจะไม่ ปะปนกัน โดยจัดให้แต่ละแผนกที่ทำางานต่อเนื่องมาอยู่ ใกล้กัน เช่น แผนกตัด เย็บ ฟินิชชิ่ง แพคกิ้ง พร้อมใช้ รูปแบบการส่งต่องานแบบการ­ไหลชิ้นเดียว (Onepiece Flow) คือส่งชิ้นงานระหว่างแผนกแบบชิ้นต่อ ชิ้น และให้พนักงานคอยตรว­จสอบคุณภาพชิ้นงานของ ตนเองทุกครั้งที่เสร็จสิ้นงานแต่ละชิ้น แทนรูปแบบเดิม ที่แต่ละแผนกแยกจ­ากกันเป็นสัดส่วน และมักส่งต่องาน กระดาษที่วาดรูปเรียบร้อยแล้วนำามา วางควำ่าลงบนยางลบ­ที่ต้องการจะแกะ แล้วทำาการขูดเพื่อให้รอยดินสอที่วาด เป็นรูปติดลงบนยางลบ จากนั้นจึงเริ่ม ล ลงมือแกะยางลบต­ามแบบหรือลาย ที ที่ลอกไว้ให้เรียบร้อย โดยใช้คัตเตอร์ ป ปากกา หรือคัตเตอร์ธรรมดา

สุดท้ายนำายางลบ­ที่ทำาการแกะ ล ลายเสร็จเรียบร้อยแล้วมาติดแป้น ไ ไม้เพื่อให้หยิบใช้งานได้ อ อย่างสะดวก ทดลองปั๊ม ดู ดูถ้าลายเส้นที่แกะครบ ต า ม แ บ บ ห รื อ ล า ย ที่ ต้องการ ก็เป็นอันเสร็จขั้น ตอนการทำา

“สำ�หรับคนที่สนใจ ง ง�นแกะย�งลบต้องมีใจ รักในง�นประเภทนี้ก่อน เพร�ะเป็นง�นที่ต้องใส่ใจ แ และใช้เวล�กับมันม�ก พอสมควร ซึ่งจริง ๆ แล้วก�รแกะย�งลบไม่ใช่ เรื่องย�ก ตั้งใจหมั่น ฝึ ฝึกฝนเพิ่มเติมอยู่เสมอ ท ทักษะคว�มชำ�น�ญก็จะ เจ้าของชิ้นงานแนะนำา ทีละหลายชิ้นซึ่งทำาให้เกิดความล่าช้าเสียเวลาจากกา­ร รองาน กับการเคลื่อนย้ายชิ้นงาน จนทำาให้ทำางานไม่ทัน เมื่อมีชิ้นงานมาพร้อมกันมากเกินไป โดยหลังจากนำา รูปแบบการผลิตแบบลีนมาใช้ ทำาให้ลดสต๊อกในโรงงาน ได้ถึง 4 เท่า และลดปริมาณสินค้าเสียหายให้เหลือเพียง แค่1-2% เท่านั้น

อย่างไรก็ดี การปรับรูปแบบการผลิตจากเดิม มาสู่การผลิตแบบลีน ไม่ใช่สิ่งที่เกิดผลได้เพียงข้ามคืน ซึ่งเจ้าของกรณีศึกษารายนี้ก็ต้องใช้เวลาช่วง 6 เดือน แรกในการอบ­รมพนักงานระดับต่าง ๆ เพื่อปรับเปลี่ยน ทัศนคติในเรื่องนี้ ซึ่งการเปลี่ยนมุมมองและสร้างความ เข้าใจให้กับผู้ปฏิบัติงานถือเป็นจุดยากที่สุดของการผลิต แบบลีน แต่ถ้าทำาสำาเร็จก็จะมีประโยชน์กับธุรกิจมาก โดยระบบนี้สามารถปรับใช้ได้กับทุกอุตสาหกรรม ทุก ธุรกิจ และใช้ได้กับ “เอสเอ็มอี” ทุก ๆ สาขา ทั้งนี้ ข้อมูล “การผลิตแบบลีน” ยังมีต่อ...

ขออนุญาตยกยอดไว้ โอกาสต่อไป .

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand