Daily News Thailand

ให้ความรู้ประโยชน์โฟลิก

-

ประชุมกำาหนดแนว­ทางในการปร­ะชาสัมพันธ์และ ะ เผยแพร่ความรู้ รณรงค์ให้ประชาชนรับทราบถึง “ประโยชน์ของกรดโฟลิกแอซิด (Folic Acid) ) ในการป้องกันความพิการของเด็กทารกแรกเกิด”ใ ซึ่งเป็นปัญหา สำาคัญของชาติ โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สภากาชาดไท­ย ย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการ­พัฒนาสังคมและความ­มั่นคง ของมนุษย์ หน่วยเวชพันธุศาสตร์คณะแพทยศาส­ตร์ ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาส­ตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าร่วมสัมมนา ณ สำานัก คณะกรรมการ­สิทธิมนุษยชนชาติุ

นางฉัตรสุดา จันทร์ดียิ่ง กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประธาน คณะอนุกรรมการด้านสิทธิเด็กและการศึกษา กล่าวว่า ควรรณรงค์ให้ความ รู้เรื่องการป้องกันความพิการแต่กำาเนิด เนื่องจากเป็นปัญหาสำาคัญที่พบบ่อย และนำาความ­ทุกข์ทรมานมาสู่ทั้งผู้ป่วยเองและคร­อบครัว้ ในขณะที่ทั่วโลก ทราบและรณร­งค์เรื่องนี้อย่างจริงจัง คนไทยทุกคนควรมีสิทธิที่จะได้รับรู้ เรื่องนี้ เพื่อป้องกันตนเองและบุตรหลานจากค­วามพิการแต่กำาเนิด

ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงพรสวรรค์ วสันต์ นายกสมาคม เพื่อเด็กพิการแต่กำาเนิด(ประเทศไทย) กล่าวว่า โฟลิกแอซิดสามารถป้องกัน ความพิการแต่กำาเนิดได้ และได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถลดค­วามพิการแต่ กำาเนิดชนิดรุนแรงลงได้เกือบครึ่ง ซึ่งใน ประเทศไทยอัตราการเกิดเด็ก พิการแต่กำาเนิดมากถึง 3-5% ในแต่ละปีมีเด็กเกิดใหม่ในไทยปีละเกือบ 800,000 คน หมายถึง มีเด็กพิการแต่กำาเนิดคลอดใหม่ถึงปีละกว่า 30,000 คน หากสามารถล­ดจำานวนเด็กพิการที่เกิดใหม่ในแต่ละปีลงได้ จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างยิ่ง โฟลิกแอซิดนอกจากจะป้องกันความ พิการแต่กำาเนิดแล้วยังลดอัตราการคลอด­ก่อนกำาหนดแล­ะภาวะทารกน­ำ้าหนัก แรกคลอดตำ่า และประโยชน์อื่น ๆ อีกมากมาย

นายแพทย์พิชิต ศิริวรรณ รองผู้อำานวยการส­ำานักงานบรรเทา­ทุกข์ และประชานา­มัยพิทักษ์ สภากาชาดไท­ย กล่าวว่า แม้บุคลากรทางกา­รแพทย์ จะบูรณาการเพื่อช่วยจัดระบบดูแลผู้ป่วยพิการแต่กำาเนิด เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ หรือโรคอื่น ๆ แต่ยังมีผู้ป่วยจำานวนมา­กที่ยังไม่ได้รับการดูแลทัน ท่วงที อีกทั้งในรายที่มีความพิการรุนแรง การรักษาก็เพียงแค่ทำาให้ดีขึ้น ไม่ สามารถรักษาได้จนหายเป็นปกติ ดังนั้นการป้องกันความพิการแต่กำาเนิด จึง เป็นความหวังสูงสุดที่จะแก้ปัญหานี้ องค์การอนามัยโลกได้ประเมินผลดี ผลเสียการให้โฟลิกแอซิดในระดับประชากร และได้ออกคำาแนะน­ำาให้ทุก ประเทศทั่วโลกรณรงค์ลดความพิการแต่กำาเนิดด้วยโฟลิกแอซิด แต่ใน ประเทศไทยก­ลับไม่มีแม้แต่การรณรงค์ให้ความรู้เรื่องนี้แก่ประชาชน

โฟลิกแอซิด หรือ โฟเลต เป็นวิตามินบี 9 พบได้ในไข่แดง ตับ ผักใบเขียวเข้ม แครอท แคนตาลูป ฟักทอง อะโวคาโด ถั่ว หรือ ในรูป ยาเม็ด การรับประทานโฟลิกแอซิดจะช่วยลดโอกาสเ­สี่ยงของความพิการ แต่กำาเนิดได้ร้อยละ 20-50 เช่น ลดโอกาสการ­เกิด และการเกิดซำ้าความ พิการแต่กำาเนิดของหลอดปร­ะสาท ได้ร้อยละ 70, ลดโรคหัวใจพิการแต่ กำาเนิด ได้ร้อยละ 25-50, ลดความผิดปกติของแขน ขา ได้ร้อยละ 50, ลดความพิการของระบบ­ทางเดินปัสสาวะและโร­คไม่มีรูทวารหนัก ได้ ประมาณ 1 ใน 3, ลดโอกาสการ­เกิดปากแหว่ง ได้ประมาณ 1 ใน 3 ศาสตราจารย์นายแพทย์วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะ แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ความรู้เรื่องโฟลิกแอ ซิด ป้องกันความพิการแต่กำาเนิด ได้รับการพิสูจน์ด้วยกระบวนกา­รทาง วิทยาศาสตร์ จนปราศจากข้อสงสัย ในประเทศสห­รัฐอเมริกา มีการออก กฎหมายบังคับให้ผลิตภัณฑ์อาหารที่คนอเมริกันกว่า 300 ล้านคน ทาน เป็นประจำาทุกวันต้องผสมโฟลิกแอซิดในปริมาณสูง มาตั้งแต่ปี 2541 รวมทั้งออกคำาแนะ­นำาให้หญิงที่ประสงค์จะตั้งครรภ์ทานโฟลิกแอซิด ตั้งแต่ ปี 2539 และแนะนำาใ­ห้ทุกประเทศทั่วโลก รณรงค์ป้องกันความพิการแต่ กำาเนิดด้วยโฟลิกแอซิดในปี 2552 ปริมาณโฟลิกแอซิดที่ต้องการ เพื่อป้องกันความพิการแต่กำาเนิดคือ 0.4 มิลลิกรัมต่อวัน แต่โฟลิกแอ ซิดในอาหารตา­มธรรมชาติ มีไม่มากพอที่จะป้องกันความพิการแต่กำาเนิด ได้ จึงจำาเป็นต้องทานโฟลิกชนิดเม็ด ซึ่งก็มีราคาถูกมากในประเ­ทศไทย

ปัจจุบันนี้มีมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก มีการผสมโฟลิกแอซิด ในอาหาร แม้แต่ประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเนปาล ก็มีการ ออกกฎหมายบังคับให้ผสมโฟลิกแอซิดในอาหารปร­ะจำาวัน เพื่อลด ความพิการแต่กำาเนิดแล้ว.

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand