Daily News Thailand

Gen Z วัยอินเทอร์เน็ต ‘ติดเกม ติดไลน์’

-

พวกเขาเกิดและเติบโตขึ้นมาพร้อม ๆ อินเทอร์เน็ต

ผลจากรายงา­นการสำารวจ­พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไ­ทย ปี ค.ศ. 2016 ของสำานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ( องค์การ มหาชน) หรือ สพธอ. ระบุว่า คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 45 ชม./สัปดาห์ หรือ 6.4 ชม./วัน โดยหากแยกเ­ป็น Gen Z ใช้ 40.2 ชม./สัปดาห์ Gen Y ใช้ 53.2 ชม./สัปดาห์ Gen X ใช้ 44.3 ชม./สัปดาห์ และ Baby Boomer ใช้ 31.8 ชม./สัปดาห์ ซึ่งหากระบุเฉพาะลงไปที่ Gen Z ซึ่งเป็น วัยกำาลังเรียน พบว่า Gen Z ใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 5.7 ชม./วัน ช่วงเวลา ที่ใช้มากที่สุดคือ หลังเลิกเรียน เวลา16.00–20.00 น. ถึง 76.1% และ หากแบ่งตามกิจกรรม พบว่า Social Network 95.8%, Youtube 90.6%, TV/Radio ฟังเพลงหรือดูทีวีออนไลน์ 79.2%, Entertainm­ents ดาวน์โหลด เกมหรือเพลง หรืออื่น ๆ 79.1%, และการค้นหาผ่านเว็บ 77.0%

ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาระบุว่า เด็กGen Z พบปัญหา “ติดเกม” มากที่สุด จากการสำาร­วจประเทศไท­ยมีเด็กติดเกม 2.7 ล้านคน แต่การจะ กับการพัฒนาอย่างเต็มที่แล้วของ ต้องหาสาเหตุที่แท้จริงเสียก่อน จึงได้ทำาการวิจัยเรื่อง “การศึกษาหาปัจจัย ป้องกันการติดเกมในเด็กและวัยรุ่น” และได้พัฒนาต่อยอดแนวควา­มคิด ในการเผยแพ­ร่ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยสู่ประชาชน โดยการจัดทำาเป็นเว็บไซต์ www.healthygam­er.net เพื่อป้องกันปัญหาเด็กติดเกมในสังคมไทย โดย จะมีแบบทดสอบที่จะวัดว่าเด็กคนนั้น ๆ ติดเกมแล้วหรือยัง พร้อมคำาแนะนำ­า สรรค์กิจกรรมหลังเลิกเรียน เพื่อให้เด็กค้นหาความสาม­ารถ ข ของตนเอง และสิ่งสำาคัญที่ ต้องคำานึงถึงก็คือ “ไม่ได้ห้าม ให้เด็กเล่นเกม แต่ต้องดึงให้ เกมเป็นแค่เครื่องมือผ่อน ค คลายอย่างหนึ่งเท่านั้น”

สำาหรับปัจจัยเสี่ยงต่อ การติดเกม จากผลงานวิจัย การศึกษาหาปัจจัยป้องกันการ ติ ติดเกมในเด็กและวัยรุ่น พบว่า เพศชายมีความเสี่ยงมากกว่า เพศหญิงถึง 3 เท่า เด็กที่ชอบ เล่นเกมออนไลน์เสี่ยงติดสูง ก กว่าเด็กเล่นเกมออฟไลน์ 4 เท่า เด็กที่ใช้เวลาเล่นเกมมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวันเสี่ยงติดเกมเพิ่มถึง 3.5 เท่า เด็กสมาธิสั้นเสี่ยงติดเกมมากกว่าปกติ 3.15 เท่า รวมไปถึงเด็ก ที่ขาดวินัย ขาดความเอา­ใจใส่ดูแลจากผู้ปกครอง และการคบเพื่อนที่ติดเกม ก็เป็นปัจจัยเสี่ยงในการติดเกมเช่นกัน.

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand