Daily News Thailand

ทรงพระเจริญ

-

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรา­งกูร พระ ราชโอรสในพ­ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงดำารงพร­ะราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร นับแต่วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 และได้ทรงประกอบพ­ระราชกรณียกิจนานัปการ สนองพระราช ปณิธานแห่งสมเด็จพระชนกและ­สมเด็จพระชนนี เพื่อความเจริญมั่นคงของ ประเทศไทยแ­ละความอยู่ดีมีสุขของปวงชนช­าวไทย สืบเนื่องมาโดยตลอ­ด จวบจนเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 แห่ง พระบรมราชจักรีวงศ์ ในปี พ.ศ. 2559 นี้

เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 18.45 น. สำานักพระราชวัง ได้ออกประกาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลา ธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราช­จักรีวงศ์ เสด็จสวรรคต เมื่อ เวลา 15.52 น. วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 สิริพระชนมพรรษ­าปีที่ 89 ทรงครองราช­สมบัติได้ 70 ปี ซึ่งสำาหรับประเทศไทย­และประชาชน­คนไทย นับเป็นความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบ 7 ทศวรรษที่ผ่านมา

ต่อมาวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 รัฐบาล โดยนายวิษณุ เครือ งาม รองนายกรัฐมนตรี ได้ชี้แจงถึงกรณีองค์พระรัชทายาทตามบ­ทบัญญัติ กฎหมายว่า สมเด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสถิต อยู่ในตำาแหน่ง “พระรัชทายาท” ทั้งนี้ ตามรัฐธรรมนูญระบุชัดเจน เมื่อราช บัลลังก์ว่างลง ในกรณีได้มีการตั้งพระรัชทายาทไว้ คณะรัฐมนตรี (ครม.) ต้อง แจ้งประธานรัฐสภา ซึ่งขณะนี้คือประธานสภา­นิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ให้ ทราบว่าได้มีการตั้งพระรัชทายาทไว้เป็นที่เรียบร้อย พร้อมเอกสารหลักฐาน ประกาศพระบ­รมราชโองกา­รสถาปนาสมเ­ด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ ขั้นตอน จากนั้นจะมีการประชุมรัฐสภาเพื่อมีมติรับทราบอย่างเป็นทางการ และอัญเชิญ องค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์ จากนั้นจะออกประก­าศให้ประชาชนทรา­บ ว่า บัดนี้ประเทศไทยจ­ะมีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยสมบูรณ์แล้ว ซึ่งขั้นตอนทุกอย่าง เดินตามกฎมณเฑียรบาล และตามรัฐธรรมนูญ อย่างไม่มีปัญหาใด ๆ

อย่างไรก็ดี ในเวลา 21.40 น. พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี ได้แถลงว่า ได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุมาร โดยพระองค์ทรงมีรับสั่ง ความสำาคัญว่า ทรงรับพระราชทาน­เป็น องค์รัชทายาทอยู่แล้วในปัจจุบัน แต่ทรงขอเวลาท­ำาพระทัยและแสดงคว­าม เสียใจร่วมกับประชาชนทั้งประเทศไปก่อนในระยะเว­ลานี้ สำาหรับกระบวนการ กฎหมายในกา­รอัญเชิญขึ้นสืบราชสมบัตินั้น ทรงขอให้รอเวลา และทรงยืนยัน ว่าทรงตระหนักในหน้าที่องค์รัชทายาทในส่วนของพระรา­ชภารกิจต่าง ๆ ซึ่ง จะทรงปฏิบัติในฐานะสมเด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไป ก่อน จนกว่าจะถึงเวลาอันเหมาะสม

ในวันเดียวกันนี้ นายวิษณุ รองนายกรัฐมนตรี ได้ชี้แจงอีกว่า รัฐบาล รับสนองพระรา­ชปรารภของส­มเด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ สยามมกุฎราช กุมาร และพระองค์ทรงมีพระบัณฑูรกับนายกรัฐมนตรีว่า การพระราชพิธี พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จะประดิษฐาน นานประมาณ 1 ปี ซึ่งต่อจากนั้นจึงจะถึงเวลาพระรา­ชพิธีบรมราชาภิเษก ดัง นั้นจึงยังไม่อยู่ในขั้นตอนที่รัฐบาลแจ้งไปยังรัฐสภา รัฐสภามีมติรับทราบ และ อัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นครองราชย์ อย่างไรก็ตาม รัชสมัยแห่งรัชกาล ใหม่ได้เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นคนละ ส่วนกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

จากวันที่ 13 ต่อเนื่องถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 และสืบเนื่อง เรื่อยมา ทุกดวงใจไทยห­ลอมรวมมุ่งสู่การพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยการพระร­าชพิธีฯ ได้ผ่านวาระ ต่าง ๆ ดังที่สำานักพระราชวังได้ออกหมายกำา­หนดการ คือ พระราชพิธีทรง บำาเพ็ญพระราชกุศลสัตตมวาร (7 วัน) วันที่ 19 ตุลาคม พิธีบำาเพ็ญพระราช กุศลปัณรสมวาร (15 วัน) วันที่ 27 ตุลาคม พระราชพิธีทรงบำาเพ็ญพระราช กุศลปัญญาสมวาร (50 วัน) วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ย้อนไปในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เวลา 09.00 น. ที่ ทำาเนียบรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการ­ประชุม ครม. โดยมีวาระพิเศษพิจารณาเรื่องสำาคัญเพื่อส่งต่อให้ สนช. ดำาเนินการต่อไป และ ในวันเดียวกันนี้ สำานักนายกรัฐมนตรี ได้ส่งหนังสือด่วนที่สุด ที่ นร. 0503/44549 ลงนามโดยนา­ยกรัฐมนตรี ถึงประธาน สนช. ในเวลา 10.08 น. เรื่อง แจ้งเรื่องการสถาปน­าแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้แล้วตามกฎ มณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ.2467 โดยใจความส­ำาคัญ ส่วนหนึ่งในหนังสือด่วนนี้ คือ จำาเป็นต้องดำาเนินการเกี่ยวกับการสืบราชสมบัติ สืบต่อไปเพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ

ในเวลาที่ผ่านมารัฐบาลได้ชะลอการดำา­เนินการในส่วนของรัฐบาลไว้ ก่อน เพื่อสนองพระรา­ชดำาริในสมเด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ สยามมกุฎราช กุมาร ที่ว่า ยังไม่สมควรดำาเนินการใดที่แสดงถึงการมีพระมหากษัตริย์พระองค์ ใหม่ในระหว่างที่ประชาชนอยู่ในภาวะทุกข์โศกและยากจ­ะทำาใจ พระองค์เองก็ ทรงขอเวลาร่วมทุกข์กับประชาชนจน­กว่าการพระราช­พิธีพระบรมศพจะ­ผ่าน พ้นไประยะหนึ่ง ซึ่งมีพระราชดำาริว่าเมื่อการบำาเพ็ญพระราชกุศลทักษิณา นุปทานผ่านพ้นจนถึงปัญญาสมวาร (ครบ 50 วัน) คือวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 แล้ว จึงค่อยพิจารณาดำาเนินการต่อไป บัดนี้ การพระราชพิธีพระบรม ศพได้ล่วงเลยจนเข้าเขตปัญญาสมวาร รัฐบาลจึงนำาความกร­าบบังคม ทูลว่านับเป็นกาลอันควรดำาเนินการต่อไปเพื่อให้เป็นไปตามราชป­ระเพณี และรัฐธรรมนูญ อันจะยังความปลาบป­ลื้มปีติ และสร้างขวัญกำาลังใจแก่พสก นิกร ซึ่งทรงทราบฝ่าละอองพระบ­าทแล้ว

หนังสือด่วนที่สุดนี้ได้มีการระบุและอ้างอิงการดำาเนินการเรื่องสำาคัญ ยิ่งเรื่องนี้ ทั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่ใช้บังคับอยู่, กฎ มณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 มาตรา 4 (1) มาตรา 4 (2), เหตุการณ์ครั้งสมเด็จพระบรมโอร­สาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยาม มกุฎราชกุมาร ทรงรับราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 6 สืบต่อจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 สมเด็จพระบรมชนก นาถ, ประกาศพระบ­รมราชโองกา­ร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช สถาปนาสมเด็จพระบรมโอร­สาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ตาม ที่ประกาศในรา­ชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เล่ม 89 ตอนที่ 200 รวมถึงการที่สมเด็จพระบรมโอร­สาธิราช เจ้าฟ้ามหา วชิราลงกรณฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ตรัสถวายสัตย์ปฏิญาณสาบานใน­การ พระราชพิธีถือนำ้าพระพิพัฒน์สัตยา ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

นอกจากนี้ หนังสือด่วนที่สุดนี้ได้ระบุด้วยว่า เมื่อพิจารณาตาม ประวัติศาสตร์ ข้อกฎหมาย ประกาศพระบ­รมราชโองกา­รสถาปนา และ โบราณราชนิติประเพณีแล้ว ล้วนแต่วางกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการสืบราชสันตติ วงศ์ไว้เป็นแบบแผนเดียวกัน ครม.จึงแจ้งมายังประธาน สนช. ในฐานะประธ­าน รัฐสภา เพื่อทราบว่า สมเด็จพระบรมโอร­สาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเป็นพระรัชทายาทที่พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้ง ไว้แล้ว และทรงสถิตอยู่ในที่พระรัชทายาทสืบมา ใหม่ และได้กล่าวคำาถวายพ­ระพร “ขอพระองค์ทรงพระเจริญ” พร้อมกัน จาก นั้นจึงมีการปิดประชุมในเวลา 11.25 น. โดยใช้เวลาในการป­ระชุมวาระ พิเศษนี้ 6 นาที

ที่ทำาเนียบรัฐบาลในวันเดียวกัน นายวิษณุ รองนายกรัฐมนตรี กล่าว ถึงขั้นตอนของ ครม. และ สนช. ในเรื่องสำาคัญเรื่องนี้ว่า มี 4 ขั้นตอน คือ 1.ครม.แจ้งเรื่องไปยัง สนช., 2.ประธาน สนช.แจ้งที่ประชุม สนช.รับทราบ, 3.ประธาน สนช. เข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูลอัญเชิญขึ้นทรงราชย์ และ 4.เมื่อ พระองค์ทรงรับ ประธาน สนช. แจ้งให้ประชาชนทรา­บ ซึ่งทั้งหมดนี้ต้อง ประกาศในรา­ชกิจจานุเบกษา แต่ไม่มีกรอบเวลากำ­าหนดว่าจะต้องประกาศเมื่อ ใด ทั้งนี้ หลัง 4 ขั้นตอนนี้แล้ว จะใช้คำาว่า “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” จนกว่าจะ มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จึงใช้คำาว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” แต่ พระราชอำาน­าจนั้นเท่ากันทุกประการ

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand