Daily News Thailand

ปัญหาสุขภาพที่มากกว่าความสูง

-

“แคระ” เป็นอีกภาวะหนึ่งของ “โรค เตี้ย” ซึ่งมีความรุนแรงกว่าโรคเตี้ยชนิดอื่น ๆ ซึ่ง ผศ.พญ.ประไพ เดชคำารณ อาจารย์ภาค วิชากุมารเวชศาสต­ร์ คณะแพทยศาส­ตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้อธิบายให้ฟังว่า โรค เตี้ยเกิดจากหลายสา­เหตุ ทั้งการเจ็บป่วยด้วย โรคเรื้อรัง อาทิ ตับ ไต หัวใจ ปอด การขาด ฮอร์โมนไทรอยด์และฮอร์โมนเจริญเติบโต (Growth Hormone) ซึ่งทำาให้มีการขยายตัว ของกระดูกเป็นผลให้กระดูกยาวขึ้น หรือเกิด จากกรรมพันธุ์ ก็ได้ทั้งสิ้น และปัจจุบันยังไม่ สามารถบอกไ­ด้ว่าอะไรเป็นสาเหตุที่ทำาให้เด็ก เป็นโรคเตี้ยมากกว่ากัน แต่พบความชุกอยู่ที่ ร้อยละ 1-5

ผศ.พญ.ประไพ ระบุว่า วิธีการสังเกต ว่าบุตรหลานเป็นโรคเตี้ยหรือไม่นั้นอันดับแรกดูจากการเจริญเติบโต ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลก และกระทรวง­สาธารณสุข กำาหนด เช่น เด็กแรกเกิด-1 ปี มีอัตราการเจริญเติบโตน้อยกว่า 25 ซม./ปี อายุ 1-2 ขวบ โตน้อยกว่า 12 ซม./ปี อายุ 2-3 ขวบ โต น้อยกว่า 8 ซม./ปี อายุ 3 ขวบ-ก่อนวัยหนุ่มสาว โตน้อยกว่า 4-7 ซม./ปี โดยเฉลี่ยจะอยู่ที่ 5 ซม./ปี ดังนั้นจึงต้องหมั่นสังเกตและดู ด้วยว่า เด็กมีความเตี้ยผิดแปลกไปจาก­พ่อ แม่ หรือพี่น้องหรือไม่

สำาหรับการแก้ไขโรคเตี้ยนั้น เบื้องต้นต้องหาสาเหตุให้ได้ ก่อนว่าเกิดจากอะไร แล้วรักษาจากตรงนั้น หากโรคเตี้ยเกิดจากผล กระทบจากโร­คเรื้อรังก็แก้ด้วยการรักษาโรค ก็แก้ด้วยการรักษาโรค เรื้อรังร่วมด้วย หากเกิดจากภาวะขา­ด เกิดจากภาวะขา­ด โกรทฮอร์โมนก็สามารถเสริมเข้าไป ารถเสริมเข้าไป ได้ แต่ต้องเป็นฮอร์โมนชนิดฉีด ร์โมนชนิดฉีด และทำาหัตถการโดยแพ­ทย์ผู้ด ย แพ ท ย์ ผู้ เชี่ยวชาญเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันยังพบ ปัจจุบันยังพบ ปัญหาการขาย “โกรทฮอร์โมน” กรทฮอร์โมน” ชนิดกิน กับชนิดพ่น พ่น ผ่านทางอิน เทอร์เน็ต ซึ่งขอยืนยันว่าไม่สามารถเพิ่ม นัว่าไม่สามารถเพิ่ม ความสูงได้จริง

อย่างไรก็ตาม การที่ไม่ เป็นโรคดังกล่าวน่าจะดี จะดี ที่สุด สิ่งสำาคัญคือการ าร เลี้ยงดูของพ่อ แม่ ม่ ต้องส่งเสริมให้เด็ก ได้ออกกำาลังกายอย่างเหมาะสม ซึ่งตรงนี้ไม่ได้เจาะจงว่าต้องเป็นการ ออกกำาลังกายชนิดใดเป็นพิเศษ ขอเพียงแค่ออกกำาลังกายอย่าง เหมาะสมให้ร่างกายรู้สึกเหนื่อยแล้วหลั่งโกรทฮอร์โมนออกมา ทั้งนี้ การออกกำาลังกายชนิดลงน้ำาหนัก เช่น การกระโดด บาสเกตบอล ช่วยให้มวลกระดูกเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีข้อมูลยืนยันว่าจะทำาให้เด็กตัวสูง มากกว่าการออกกำา­ลังกายชนิดอื่น แต่มีข้อเสียในเด็กอ้วนคือจะมี แรงกดต่อหัวเข่าด้านในมาก ทำาให้เกิดอาการขาโก่ง ดังนั้นให้อยู่ใน ทางสายกลาง ขณะเดียวกันก็ต้องรับประทานอาห­ารให้ครบไม่ใช่แค่เน้นที่ แคลเซียมเท่านัน แคลเซียมเท่านั้น แต่รวมถึงพ แต่รวมถึงพลังงาน โปรตีน ไขมัน และแร่ธาตุ ต่าง ๆ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอ ฟอสฟอรัส สังกะสี และอื่น ๆ มีผลต่อการ เจริญเติบโต การขาดพลังงาน โปรตีนและแร่ธาตุต่าง ๆ ทำาให้การ เจริญเติบโตช้า สารอาหารหลัก สารอาหารหลักที่มีผลต่อการสร้างเสริมกระดูก เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส และ และวิตามินดี มีความสำาคัญต่อความสูง เช่นกัน “ปัจจุบันเราจะพบว่าวัย “ปัจจุบันเราจะพบว่าวัยรุ่น โดยเฉพาะวัยรุ่นหญิงมักนิยมลด ความอ้วน อดอาหารต่าง ๆ นั้น ตรงนี้จะกระทบกับการเจริญเติบโต ของเขามาก แม้ว่าจะไปพึ่งพ แม้ว่าจะไปพึ่งพาโกรทฮอร์โมนเท่าไหร่ก็ไม่สามารถ เพิ่มความสูง เพิ่มความสูงได้ เพราะร่างกายขาดสา­รอาหารที่ จำาเป็น ก การใช้โกรทฮอร์โมนให้ได้ผลก็จะต้อง ทำาควบ ทำาควบคู่กับการออกกำา­ลังกาย การรับ ป ประทานอาหา­รอย่างเพียงพอด้วย”ระท ผศ.พญ.ประไพผศ. กล่าวในตอนท้าย.

 ??  ??
 ??  ?? ผศ.พญ.ประไพ เดชคำ�รณ อภิวรรณอ ภ เสาเวียง
ผศ.พญ.ประไพ เดชคำ�รณ อภิวรรณอ ภ เสาเวียง

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand