Daily News Thailand

ทำาอย่างไรเมื่อเป็นเบาหวานเรื้อรังแล้วจะไม่ลงไต แพทย์บอกว่าไตเริ่มไม่ดี

-

มีความสา�คัญและเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลง ไม่ได้ ยิ่งเป็นเบาหวานยา­วนานขึ้นโอกาส ที่จะเป็นโรคไตจากเ­บาหวานก็เพิ่มมาก ขึ้น และควรดูแลป้องกันปัญหาอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบกา­รทา�งานของไต เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะขาดนา้� การ โรคเบาหวาน­และโรคไตเป็นโรคที่พบบ่อยในคนไทย ติดเชื้อ ซึ่งมักพบได้ในผู้ที่อายุมากขึ้น และมีโอกาสที่จะเกิดในคนคนเดียวกันได้ ผู้ที่เป็นเบาหวานมี หรือเป็นเบาหวานมา­นาน โอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนที่ไตเรียกว่า “โรคไตจากเบ­าหวาน” ธ โดยทั่วไปเมื่อได้รับการวินิจฉัย หรือเรียกกันทั่วไปว่า “เบาหวานลงไ­ต” อย่างไรก็ตาม โรคไตที่ ว่าเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 แพทย์จะ พบในผู้ที่เป็นเบาหวานอา­จไม่ใช่โรคไตจากเบ­าหวานก็ได้ แต่ ประเมินความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะเกิด เกิดจากเหตุอื่น แพทย์สามารถจะปร­ะเมินให้แน่ใจว่าเป็น โรคหัวใจและหลอด­เลือด ให้ตรวจตา “โรคไตจากเบ­าหวาน” หรือไม่ ในร่างกายคน ไตมี 2 ข้าง อยู่ข้างหลังตับและตับอ่อน และไตด้วย เพื่อดูว่ามีการเปลี่ยนแปลง

การเกิดโรคไตจากเ­บาหวานขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ การควบคุม ของจอตาจาก­เบาหวานและ­มีโรคไตจากเบ­าหวานหรือไม่ เนื่องจากไม่สามารถบอก เบาหวานไม่ได้ดี ระยะเวลาที่เป็นโรคเบาหวา­น ความดันโลหิตสูง ประวัติครอบครัว ได้ว่าผู้นั้นเป็นเบาหวานมา­แล้วนานเท่าไร โรคแทรกซ้อนจากเบาหว­านที่ตาและไต ที่เกิดโรคไตจากเ­บาหวาน นอกจากนี้เหตุอื่นที่ทา�ให้เกิดโรคไตในคน­ทั่วไปที่ไม่เป็น ในระยะต้นจะไม่ปรากฏอาการ­ใด ๆ ต้องตรวจเท่านั้นจึงจะรู้ว่าเป็นหรือไม่ หากพบว่า เบาหวาน ก็อาจเกิดขึ้นในคนที่เป็นเบาหวานได้ เช่น โรคของไตเอ­ง โรค เอส แอล อี เป็นระยะต้นสามารถให้การรักษาเพื่อชะลอหรือหยุดยั้งการดา�เนินของโรคที่ตาและ นิ่วในไต โรคไตจากกา­รใช้ยาบางอย่าง จากการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซา้� ๆ โรคไต ไตได้ หากยังไม่พบควรรับการตรวจเช็กสุขภาพเป็นประจา�ปีละ 1 ครั้ง การตรวจ บางชนิดรักษาให้หายได้ บางชนิดการรักษาช่วยชะลอหรือหยุดยั้งการดา�เนินของ สุขภาพจะรวมก­ารตรวจสัญญาณบ่งชี้ของโรคไตด้วย โดยแพทย์จะตรวจปัสสาวะ โรค โรคไตเกือบทุกรูปแบบที่รักษาให้หายไม่ได้อาจเป็นมากขึ้นตามระยะเว­ลา ใน วัดปริมาณอัลบูมินหรือไข่ขาวในปัสสาวะ และตรวจระดับครีอะตินีนในเลือดเพื่อดู ที่สุดอาจรุนแรงจนถึงไตวายได้ อัตราการกรอง­หรือประสิทธิภาพการทา�งานของไต สัญญาณบ่งชี้ของโรคไตคือ มี

ผู้ที่เป็นเบาหวานไม่นาน เช่น น้อยกว่า 5 หรือ 10 ปี หากพบว่ามี “โรค ปริมาณอัลบูมินในปัสสาวะ 30 มก.ต่อหนึ่งกรัมครีอะตินีนหรือมากกว่า และอัตรา ไตจากเบาหว­าน” เป็นไปได้ว่าผู้นั้นเป็นเบาหวานมา­ก่อนโดยไม่รู้ตัวว่าเป็น พบว่า การกรองของ­ไตลดลง ซึ่งถือเป็นโรคไตระยะ­ต้น โดยผู้นั้นจะไม่มีอาการแสดงอ­อก ปกติ ใด ๆ การแก้ไขปัจจัย 3 ข้อที่กล่าวแล้วข้างต้นให้ ดีขึ้นและให้ยาร่วมด้วย สามารถชะลอ­หรือยับยั้ง การดา�เนินของโรคไต ยืดเวลาการเกิดไตวายหรือ ป้องกันไม่ให้ไตวายได้

โรคไตจากเบ­าหวานเกิดขึ้นช้า ๆ เป็นโรคไต เรื้อรังที่พบได้บ่อย โดยเริ่มจากความผิดปกติที่ตัว กรองของไตที่เรียกว่าโกลเมอรูลัส ภ7lom5rulu­sมธ ซึ่งมีอยู่จา�นวนนับล้าน ทา�ให้มีอัลบูมินรั่วออกมาใน ปัสสาวะเกินปกติ ต่อมาอัตราการกรอง­หรือ ประสิทธิภาพการทา�งานของไตจึงค่อยๆ ลดลง ใน คนปกติอัตราการกรอง­ของไตมีค่าตั้งแต่ 90 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตรพื้นผิวกายขึ้น ไป ปริมาณอัลบูมินในปัสสาวะอาจไม่สัมพันธ์กับ อัตราการกรอง­ของไตที่ลดลง โรคไตจากเบ­าหวาน แบ่งเป็นหลายระยะ

- ระยะต้น พบปริมาณอัลบูมินในปัสสาวะ มากเกินปกติคือ 30-299 มก.ต่อหนึ่งกรัมครีอะติ นีน ส่วนใหญ่แล้วอัตราการกรอง­ของไตยังปกติ หรืออาจลดลงเล็กน้อย ธ - ระยะกลาง พบปริมาณอัลบูมินในปัสสาวะสูงมากคือ 300 มก.ต่อ หนึ่งกรัมครีอะตินีนหรือมากกว่า โดยอัตราการกรอง­ของไตมักลดลง ระยะนี้จะมี อาการบวม ๆ ยุบ ๆ หรืออาจบวมมาก­ได้

- ระยะปลาย อัตราการกรอง­ของไตลดลงเ­หลือน้อยกว่า 60 มิลลิลิตร/ นาที/1.73 ตารางเมตรพื้นผิวกาย อาการบวมอา­จมากขึ้น พบภาวะเลือดจางได้

- ระยะรุนแรง อัตราการกรอง­ของไตลดลงเ­หลือน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตรพื้นผิวกาย อาจมีอาการอ่อนเพลีย ซีด คลื่นไส้ ร่วมด้วย

- ระยะรุนแรงมากหรือไตวาย อัตราการกรอง­ของไตลดลงเ­หลือน้อย กว่า 15 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตรพื้นผิวกาย ต้องรับการรักษาทดแทน ไตคือฟอกไตหรือเปลี่ยนไต

การเปลี่ยนแปลงระยะ­ของโรคขึ้นกับการควบคุมปัจจัยที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้น ถ้าควบคุมได้ดีและได้รับการรักษาด้วยยากลุ่มที่ยับยั้งระบบเรนิน-แองจิโอ เท็นซิน (rEnIn-AnGIotEnsI­n systEm InHIBItIon) คือ AnGIotEnsI­n ConvErtInG EnzymE InHIBItor (ACEI) หรือ AnGIotEnsI­n II rECEptor BloCkEr (ARB) การ เปลี่ยนสู่แต่ละระยะที่มากขึ้นจะใช้เวลาหลายปี และอาจไม่ไปถึงระยะปลายห­รือ ระยะรุนแรง

ดังนั้นเมื่อแพทย์แจ้งว่า “ไตเริ่มไม่ดี” อย่าเพิ่งตกใจหรือกังวลมากจนเกิน เหตุ เพราะยังมีโอกาสรักษาจงเรียนรู้ถึงเหตุและผลแล้วปรับการดูแลตัวเองให้ได้ ตามที่แพทย์แนะนา� เพื่อให้โรคไตอยู่คงที่หรือเสื่อมลงช้า ๆ ในคนที่เป็นระยะต้น มาก ๆ คือปริมาณอัลบูมินในปัสสาวะมากเกินปกติเพียงเล็กน้อย เช่น 30-40 มก. ต่อหนึ่งกรัมครีอะตินีน มีโอกาสกลับเป็นปกติได้

ข้อมูลจาก ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงวรรณี นายกสมาคมโ­รคเบาหวานแ­ห่งประเทศไทย­ฯ. เปลี่ยนแปลงจากเ­บาหวาน

ลักษณะรูปร่างตัวกรองของไต (โกลเมอรูลัส) ตัวกรองของไต (โกลเมอรูลัส) ขยายด้วยกล้องจุลทรรศน์ คนไทย 11 คนที่เป็นเบาหวาน มี 5 คนที่ไม่รู้ตัวว่าเป็น เพราะเบาหว­านชนิดที่ 2 ซึ่งพบบ่อยในคนไทย มักไม่แสดงอาการใ­ด ๆ การตรวจค้นหาว่าเป็นโรคเบาหวา­น หรือไม่จึงมีความสา�คัญมาก เพราะการรักษาเบาหวาน­ในระยะเริ่มเป็นจะง่ายกว่า และสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนจากเบาหว­านได้ หากตรวจพบว่ายังไม่เป็น เบาหวานแต่เสี่ยงที่จะเป็น การปรับวิธีรับประทานอาห­ารให้ถูกต้อง จา�กัดปริมาณ นา้�ตาล ไขมัน และเกลือโซเดียม ออกกา�ลังกายเพิ่ม ลดนา้�หนักที่มากเกิน งดบุหรี่ จะป้องกันไม่ให้เป็นโรคเบาหวา­นได้ แน่นอนที่สุด เมื่อไม่เป็นเบาหวานก็ไม่มีโอกาส จะเกิด “โรคไตจากเบ­าหวาน”

คนที่เป็นเบาหวานแล้วไม่อยากให้เกิด “โรคไตจากเบ­าหวาน” มีโอกาส เป็นจริงได้เพราะ “โรคไตจากเบ­าหวาน” สามารถป้องกันได้ โดยปฏิบัติดังนี้

1. เริ่มรักษาเบาหวาน­ให้เร็วที่สุด และควบคุมระดับนา้�ตาลในเลือดให้ ใกล้เคียงปกติมากที่สุด แพทย์ผู้รักษาจะกา�หนดเป้าหมายที่เหมาะสา�หรับแต่ละคน เป้าหมายโดยทั่วไปคือระดับนา้�ตาลในเลือดเจาะก่อนรับประทานอาห­ารเช้าและมื้อ อื่น ๆ ควรน้อยกว่า 130 มก./ดล. และค่าเฉลี่ยนา้�ตาลสะสมน้อยกว่า 7% การ ควบคุมระดับนา้�ตาลในเลือดประกอบด้วยการควบคุมอาหาร ออกกา�ลังกาย บาง คนอาจไม่ต้องใช้ยา แต่คนส่วนใหญ่ต้องใช้ยาร่วมด้วยเมื่อแพทย์เห็นเหมาะสม

2. รักษาควบคุมโรคอื่นๆ ที่มีร่วมอยู่ด้วยให้ดีคือ ความดันโลหิตสูงและ ไขมันในเลือดสูง เป้าหมายคือ ความดันโลหิตให้น้อยกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ระดับไขมันแอลดีแอล ในเลือดให้น้อยกว่า 100 มก./ดล.

3. ลดหรือหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงอื่น เช่น ไม่สูบบุหรี่ ลดความอ้วน ไม่ใช้ยา พรา่�เพรื่อโดยเฉพาะอ­ย่างยิ่งยาแก้ปวดชนิดต่าง ๆ ไม่อั้นปัสสาวะเพื่อไม่ให้เกิดการ ติดเชื้อ

การดูแลปฏิบัติปัจจัย 3 ข้อข้างต้นให้ได้ตามเป้าหมาย เป็นวิธีป้องกันโรค ไตจากเบาหว­านที่ดีที่สุด แม้การที่มีประวัติ พ่อ แม่ หรือ พี่ น้อง เกิดโรคไตจากเ­บา หวาน ซึ่งอาจบ่งชี้ถึงโอกาสที่ผู้นั้นจะเป็นโรคไตจากเ­บาหวานในอน­าคต ก็ยังสามารถ ป้องกันได้ตามวิธีข้างต้นเช่นกัน แต่ธรรมชาติของโรคคือระยะเวลาที่เป็นเบาหวาน นิธิยานันท์

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand