Daily News Thailand

ปัจจัยเสี่ยง..

- “เขื่อนขันธ์”

ใคร ที่คาดหวังว่า แม่น ้�ำทั้ง 5 สำยที่คสช. ก่อก�ำเนิด ขึ้น จะไหลไปสู่จุดหมายเดียวกัน แต่พอได้เห็นบทบำทของส­ภำ นิติบัญญัติแห่งชำติ (สนช.) กรณีมีมติให้ขยายเวลากา­รพิจารณา กฎหมายสา�คัญ ที่เกี่ยวข้องกับพลังงำน คงต้องคิดใหม่เหมือนกัน

ลองไปเทียบข่าว 2 เรื่องนี้ดู เมื่อวันที่ 11 มกราคมที่ผ่านมา “พล.อ.อนันตพร กำญจนรัตน์” รมว.พลังงำน ออกมำแถลงผ­ล กำรดำ�เนินงำนในรอบปี 2559 ระบุว่า ที่ผ่านมา ได้ดูแลค่าครอง ชีพประชาชน โดยเฉพาะด้านพลังงานไฟฟ้า ซึ่งปรับลดค่ำไฟฟ้ำ ผันแปรอัตโนมัติ (เอฟที)

ส่งผลให้ประเทศ สำมำรถประห­ยัดค่ำไฟฟ้ำได้กว่ำ9 หมื่น ล้ำนบำทต่อปี พร้อมยืนยันว่า ภำพรวมกำรท­ำ�งำนของกระท­รวง ถือว่ำประสบควำม­ส�ำเร็จ ทั้งด้านความมั่นคง ความมั่งคั่ง และ ความยั่งยืนด้านพลังงาน

ถัดมาอีกวัน เมื่อวันที่12 มกราคม สนช. กลับมีมติให้ขยำย เวลำ การพิจารณา ร่ำงพ.ร.บ. ปิโตรเลียม (ฉบับที่) พ.ศ. และ ร่ำง พ.ร.บ. ภำษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่..) พ.ศ. ครั้งที่ 5 ออกไปอีก 30 วัน ไปถึงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 ตำมที่กรรมำธิกำร (กมธ.) พลังงำน ที่มี พล.อ.สกนธ์ สัจจำนิตย์ เป็นประธำนฯ เสนอ นั่น หมายความว่า ร่ำงพ.ร.บ.ทั้ง 2 ฉบับล่ำช้ำไปจำกกำ�หนดเดิมแล้ว 180 วัน โดยไม่มีอะไรบ่งบอกหรือก�าหนดแน่ชัดว่า จะเป็นการ เลื่อนครั้งสุดท้ายหรือไม่

จึงไม่ใช่เรื่องแปลก กับปรำกฏกำรณ์ที่เกิดขึ้น จะท �าให้ “พล.อ.อนันตพร” ถึงกับระบุว่า ความล่าช้าในการพิจารณาร่างกฎหมาย ปิโตรเลียมทั้ง 2 ฉบับ เป็น “ปัจจัยเสี่ยงทำงพลังงำนของปี 2560”

อยากบอก เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ และเป็นประเด็นที่สนช. ควรขบคิดให้มาก เพรำะกำรเล่นบทเลื่อนไปข้ำงหน้ำเรื่อย ๆ นั่น หมายถึง ควำมมั่นคงด้ำนพลังงำนของประ­เทศ เข้ำสู่ภำวะสุ่มเสี่ยง

ความล่าช้าของการเปิดประมูล 2 แหล่งปิโตรเลียม คือ แหล่งบงกช และ เอรำวัณ ที่จะหมดอำยุสัมปทำนปี 2565-2566 จะกระทบต่อแผนการผลิตก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักใน กำรผลิตไฟฟ้ำของประเทศ เมื่อก๊าซไม่เพียงพอในที่สุด รัฐบำลจะ ต้องนำ�เข้ำแอลเอ็นจีเพิ่มขึ้น และต้องลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน คือ คลังบรรจุก๊าซเพิ่ม

และส่งผลให้ “กรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ” ออกมาส่ง สัญญาณเตือนไปยังภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นผู้ใช้ก๊ำซรำยใหญ่ ให้เตรียมตัวรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น จำกควำมล่ำช้ำของกำร พิจำรณำร่ำงกฎหมำยทั้ง 2 ฉบับ

“นำยวีระศักดิ์ พึ่งรัศมี” อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ ระบุว่า กรณีนี้อำจทำ�ให้กำรผลิตก๊ำซในอ่ำวไทยหยุดชะงัก และ ปริมำณก๊ำซประมำณ3 ล้ำนล้ำนลูกบำศก์ฟุต จะหายไปจาก­ระบบ ภาคอุตสาหกรรม จะมีต้นทุนพลังงานที่สูงขึ้นด้วย ในขณะที่ภาค รัฐ จะได้รับผลกระทบจำ­กรำยได้ค่ำภำคหลวงแล­ะภำษีเงินได้ ปิโตรเลียม ที่จะหายไปด้วยเช่นกัน

ล่าสุด “รมว.พลังงำน” ยังออกมาเปิดเผยว่า บริษัท เชฟ รอน และ ปตท.สผ. ผู้รับสัมปทำนปิโตรเลียมทั้ง 2 แหล่ง ได้ สอบถามมายังกระทรวงพลังงาน เพื่อขอรับทรำบกรอบร­ะยะเวลำ ด �าเนินการเปิดประมูลที่ชัดเจน และแจ้งว่าหากการประ­มูลล่าช้า ออกไป ทำงเอกชนอำ­จต้องปรับแผนลดวงเงินลงทุน ในแหล่ง สัมปทานดังกล่าว

พูดง่าย ๆ ในยามที่ภาวะเศรษฐกิจซบเซา ต้องการเงินราย ได้เข้าประเทศ ต้องการการจ้างงาน กำรเลื่อนพิจำรณำกฎหมำ­ย โดยไม่มีเหตุผลที่ชัดเจน นอกจากจะต้องจ่ายเงินนา�เข้าแอลเอ็นจี เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่ำไฟฟ้ำเพิ่มขึ้นในที่สุด ที่แย่กว่านั้นนั่นคือ “รำยได้ของแผ่นดิน” จะหดหำยไป ขณะที่การปรับลดเงินลงทุน นั่นหมายถึง กำรจ้ำงงำนที่ลดลง และอาจจะมีคนตกงาน

งานนี้คงต้องฝากถึง สนช. ต้องช่วยกันขบคิดให้หนัก หลัง ใช้เวลายาวนาน­ในการทา�การบ้านถึง 180 วัน ทั้งที่มีสัญญำณเตือน จำกผู้ที่เกี่ยวข้อง และค า� ถามจากสังคมว่า สนช.กำ�ลังถูกครอบงำ� จำกกลุ่มกำรเมืองนอกสภำหรือไม่

แล้วถ้าวันหนึ่งค่าไฟฟ้าขึ้นราคา เพรำะต้นทุนแอลเอ็นจี ความพยายาม­ของ รมว.พลังงาน ที่ลดค่าครองชีพของประชาช­น ใน ช่วงที่ผ่านมา อำจเป็นผลงำนที่ไม่เหลือในควำมทรง­จำ� อันเนื่องมา จากเพราะพิษ จำกผลงำนโร­คเลื่อนของกมธ.พลังงำนฯ สนช.

 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand