Daily News Thailand

การปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นคำ�ตอบที่ทุกคนใฝ่ฝัน

-

นายพงศ์ทัศ วนิชานันท์ นักวิจัยนโยบายด้านการปฏิรูปการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไ­ทย หรือ ทีดีอาร์ไอ กล่าวว่า ช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยพ­ยายามปฏิรูปการศึกษามาตลอด โดยมีความ เคลื่อนไหวต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งคณะกรรมกา­รอิสระเพื่อการปฏิรูป การศึกษา (กอปศ.) การจัดตั้งกองทุนเพื่อความเสมอภ­าคทางการศึกษา (กสศ.) และการร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ เป็นต้น ทว่า “3 ปั ญหาเก่า” ก็ยังมีอยู่เช่นเดิม ได้แก่ ผลสอบ PISA ในปี 2015 สะท้อนว่า นักเรียนไทยจำ�นวนมากไม่สามารถอ่านจับใจความ และประยุกต์ความรู้ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วันได้ นอกจาก ผลสอบแล้ว นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย­มากกว่าร้อยละ 60 ยังไม่รู้ ว่าอยากเรียนต่อหรืออยากทำ�งานด้านใด นักเรียนที่จบอาชีวศึกษาจำ�นวน มากก็มีทักษะไม่ตรงกับความต้องการของสถ­านประกอบกา­ร จากการสำ�รวจของกองทุนเพื่อความเสมอ (กสศ.) พบว่า เยาวชน 15-17 ปี ประมาณ 240,000 คน ไม่ได้เรียนต่อ ห ลั ง จ า ก นักศึกษา 15 สถาบัน และนักศึกษาต่างชาติ ซึ่งเป็นเครือ ข่ายสิงห์อาสา โดยบริษัท บุ ญรอดบริวเวอรี่ จำ�กดั จัดกิจกรรม สิงห์อาสา ช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาว ในโครงการ ที่โรงเรียนบ้านห้วยน้ำ�เย็น ต.วาวี อ.แม่สรวย สำ�เร็จการศึกษาภาคบังคับ เนื่องจากความย­ากจน ส่วน ที่มีโอกาสเรียนต่อ ก็มีทักษะ ต่าง ๆ เช่น การอ่านต่ำ�กว่า เด็กที่มาจากครอบค­รัวฐานะ ดี เทียบเท่ากับ 2.3 ถึง 3 ปีการศึกษา

รัฐบาลไทยใช้งบประมาณด้านการศึกษาเพิ่มขึ้นต่อ เนื่องเฉลี่ยร้อยละ 6.2 ต่อปี จนมีรายจ่ายสูงถึง 5.2 แสนล้านบาทในปี พ.ศ. 2559 แต่ผลลัพธ์ทางการศึกษาของเด็กไทยกลับยังอยู่ในระดับต่ำ� แม้ว่าใช้เวลา เรียนมากกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ­ในกลุ่ม OECD แต่คะแนนสอบกลับต่ำ�กว่า ทุกวิชา

ภาคีเพื่อการศึกษาไทย (Thailand Education Partnershi­p: TEP) วิเคราะห์ว่า สาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถแก้ไขปัญหาการศึกษาไทยได้เพราะ นโยบายยังขาดเสถียรภาพ ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีรัฐมนตรีกระทรวง ศึกษาธิการ 21 คน นโยบายจึงเปลี่ยนไปตามรัฐมนตรีแต่ละคน ไม่มีจุดหมาย ร่วมกันอย่างชัดเจน ภาคการเมืองมักเลือกใช้นโยบายที่หวังผลระยะสั้น เช่น โครงการที่มุ่งให้เห็นผลเฉพาะหน้า (Quick Win)

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand