Daily News Thailand

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช

-

5 ธันวาคม 2550 พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า เป็นแหล่งเรียน รู้ด้านนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมที่ ใหญ่ที่สุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 3 ของโลก ด้วยมีเนื้อที่กว่า 47,400 ตารางเมตร งบประมาณใน­การก่อสร้าง ประมาณ 1,800 ล้านบาท อยู่ในความรับผิด ชอบขององค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่ง ชาติ (อพวช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ตั้งอยู่ที่ อพวช.คลอง 5 จ.ปทุมธานี และก�ำลังเปิดตัวอย่างไม่เป็นทางการในเ­ดือน มิ.ย.2562 ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 14 มี.ค.

รมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม และรักษาการ รมว.วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (วท.) ได้เดินทางลงพื้นที่เพื่อเยี่ยม ชมและติดตามความคืบหน้าโครงการพิพิธภัณฑ์ พระรามเก้า โดยมี ผอ.องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) และคณะผู้บริหารให้การต้อนรับ

จากนั้น ดร.พิเชฐ เปิดเผยหลังตรวจ เยี่ยมว่า ขณะนี้การด�ำเนินการจัดสร้าง พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า มีความคืบหน้าไป มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ทุกอย่างเรียบร้อยดี คาดว่าปลายเดือนมีนาคม 2562 นี้จะแล้วเสร็จ ทั้งหมด และในเดือนมิถุนายน 2562 จะเปิด พิพิธภัณฑ์อย่างไม่เป็นทางการเพื่อให้ประชาชนได้ เข้าชมเพื่อทดสอบระบบ­การให้บริการต่าง ๆ ของ พิพิธภัณฑ์ ก่อนที่จะเปิดให้บริการอย่างเต็มรูป แบบในช่วงปลายปี 2562 นี้ เชื่อว่า พิพิธภัณฑ์ แห่งนี้ จะเป็นสถานที่เรียนร้ขูนาดใหญ่ที่ส�ำคัญของ ประเทศไทยด้านนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม ที่ สำ�คัญ จะเป็นพิพิธภัณฑ์ ที่มีชีวิต มีเนื้อหาสาระที่ นำ�เสนอผ่านนิทรรศการที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลกวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม นำ�เสนอผ่านหลักการทรงงาน­ของในหลวงรัชกาล ที่ 9 ใน 3 ส่วนสำคัญ � ประกอบด้วย 1. บ้านของ เรา น�ำเสนอการก่อก�ำเนิด จักรวาล ระบบสุริยะและโลก วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต จนถึงก �ำเนิดมนุษย์ 2. ชีวิต ของเรา นำ�เสนอสิ่งแวดล้อม และการปรับตัวของมนุษย์ให้ เข้ากับระบบนิเวศ และ 3.พระ ราชาของเรา เพื่อแสดงให้ เห็นถึงหลักคิด วิธีการทรงงาน และกระบวน การค้นหาค �ำ ตอบตามกระบ­วนการทางวิทยา ศาสตร์ของพระองค์ที่ทรงน �ำ ไปแก้ปัญหาหรือ พระราชทานแ­ก่พสกนิกรพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการอยู่ ร่วมกันกับธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน

รมว.วท.กล่าวต่อว่า กระทรวงวิทยา ศาสตร์ฯ ยกระดับพิพิธภัณฑ์พระรามเก้า ให้เป็น ฮับหรือศูนย์กลางพิพิธภัณฑ์ด้านนิเวศวิทยาและ สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม ข อ ง อาเซียน ไม่ใช่เรื่องยาก เพราะขณะนี้ก�ำลังมี ความพยายาม ที่ จะต้องการให้บริเวณ คลอง 5 จ.ปทุมธานี เทคโนธานี เป็นเหมือน ศูนย์รวมของพิพิธภัณฑ์ เนื่องจากมีพิพิธภัณฑ์ ต่าง ๆ มากมายไปตั้ง อยู่ รวมถึงหน่วยงาน ด้านวิทยาศาสตร์ และที่ส�ำคัญจะท�ำให้เกิดการ เชื่อมโยงกับอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโล­ยีแห่ง ชาติ (สวทช.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) ทำ�ให้เกิด เป็นเมืองวิทยาศาสตร์ ในพื้นที่ จ.ปทุมธานี ซึ่งจะ เป็นแห่งแรกของประ­เทศไทย ที่ส�ำคัญ ขณะนี้ ประเทศไทยก �ำลังเชื่อมโยงระบบเ­ครือข่าย สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานโดยเฉพ­าะระบบขนส่ง คมนาคม รถไฟฟ้าถึงรังสิต คลองหลวง ท�ำให้ สะดวกต่อการเดินทางเข้าสู่พิพิธภัณฑ์พระราม เก้าและอื่น ๆ ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกันได้สะดวก ยิ่งขึ้น ไม่ต้องพูดถึงการจะมีสวนสัตว์ดุสิตที่จะ เสร็จสมบูรณ์ ในอีก 2–3 ปีข้างหน้า ซึ่งจะทำ�ให้ บริเวณคลอง 5 กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใหญ่ ที่สุดของประเทศ­แห่งหนึ่ง

“นอกจากนี้ อพวช.ยังมีความร่วมมือ กับพิพิธภัณฑ์ทั่วโลก ซึ่งจะเชื่อมโยงเป็นเครือ ข่ายการเรียนรู้ขนาดใหญ่ผ่านระบบเทคโ­นโลยี ที่ทันสมัย ซึ่งจะทำ�ให้เกิดการหมุนเวียนระหว่าง พิพิธภัณฑ์อีกด้วย ได้ให้ข้อแนะน�ำเพิ่มเติมว่า จะ ต้องทำ�ให้พิพิธภัณฑ์มีชีวิต เป็นพื้นที่การเรียนรู้ สนุก มีสาระ ไม่ใช่แค่เอาของมาวา­งแล้วให้เด็ก ดู ต้องน�ำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น เอไอหรือปัญญาประดิษฐ์ การ เชื่อมโยงเครือข่ายในโลกอินเทอร์เน็ต เทคนิค การใช้แสงในการแส­ดงภาพให้ปรากฏเป็นต้น” ดร.พิเชฐ ระบุ

ด้าน ผอ.อพวช. กล่าวว่า ภายในปี 2562 เราจะได้เห็นและสัมผัส กับพิพิธภัณฑ์พระรามเก้า ที่ทันสมัยและสมบูรณ์ ที่สุดทั้งเรื่องของเนื้อหา การนำ�เสนอและระบ­บ เทคโนโลยี ที่สำ�คัญพวกเราจะไ­ด้เป็นส่วนหนึ่งที่ ร่วมกันสืบทอดตามแนว­พระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช หรือ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ของเรา พระองค์ ทรงงานหนักมากมายเพื่อประโยชน์สุขของเรา ชาวไทยมาเป็นเวลายาวนา­นตลอด 70 ปีที่ทรง ครองราชย์.

 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand