Daily News Thailand

“สามพรานโมเ­ดล”

-

เกศบอกว่า ไม่ได้หันมาทำ�เกษตรอินทรีย์ตามกระแส แต่ที่ทำ� เพราะ อยากให้ครอบครัวได้ทานอาหารที่ปลอดภัย และที่สำ�คญัสวนแห่งนี้ของเธอ ยังทำ�หน้าที่เป็น และเป็น ที่สอน วิชาชีวิตให้กับลูก ๆ ได้เป็นอย่างดี และสำ�หรับ นั้น เกศ บอกวา่ งานทำ�สวนคอือาชพีอยา่งหนงึ่ทที่�ำใหไ้ดเ้รยีนรตู้ลอดเวลา ไมต่า่ง จากการทำ�ธรุกิจ เพราะมีเรื่องให้ต้องคิด ต้องแก้ปัญหาตลอดเวล­า สำ�หรับ ผลผลิตจากสวน เกศบอกว่า จะนำ�มาแปรรูปเป็นขนมเบเกอรี่หรือไม่ก็นำ�มา ทำ�สลัด โดยส่วนหน่งึจะนำ�ไปขายตามตล­าดในพ้นืท่ใีกล้เคียง ส่วนวันเสาร์ และอาทิตย์ เธอจะชวนลูก ๆ ให้มาช่วยขายที่ตลาดสุขใจ จ.นครปฐม ซึ่งที่ นี่เองทำ�ให้เธอได้รู้จักกับ

ขณะที่เกษตรกรคนรุ่นใหม่อีกคน อย่าง วัย 38 ปี อดีต วิศวกรไฟฟ้า ที่ตัดสินใจทิ้งตำ�แหน่งผู้จัดการบริษัทเอกชน และเงินเดือนเป็น แสน เพ่อืกลับมาสานต่ออาชีพเกษตรกรขอ­งครอบครัว โดยเขามีสวนช่อื “สวนลุงประกฤติ” ที่เน้นการปลูก ผลไม้อินทรีย์ ได้เล่าว่า ตั้งแต่จำ�ความ ได้ เขาก็เห็นพ่อแม่ทำ�อาชีพเกษตรกร นี้อยู่แล้ว แต่เป็นการเพาะปลูกโดยการ ใช้สารเคมี ซึ่งตอนเป็นเด็กช่วงวันหยุด เขาก็มีโอกาสได้ช่วยงานในสวน­บ้าง แต่ ไม่ได้จริงจัง ซึ่งเมื่อเรียนจบ เขาก็เลือก ไปทำ�งานประจำ� และไม่ได้กลับมาช่วย งานครอบครัวอีกเลย เพราะตอนนั้นมุ่ง มั่นที่จะทำ�งานประจำ� จนเขาสามาร­ถไต่ เตา้ขนึ้ไปเปน็พนกังาน ระดับสูงของบริษัทได้ อย่างไรก็ตาม แม้จะมี ตำ�แหน่งใหญ่โต มีเงินเดือนมากมาย ได้สักพัก เขากลับร้สูึกไม่มีความสุข เมืองวุ่นวาย จนกลับมานั่งทบทวนถึง ตัวเองอีกครั้ง

แนวคิดในการก่อตั้ง เริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 2553 หลัง จากสวนสามพ­รานได้เริ่มสนับสนุนให้เกษตรกรในพื้นที่ จ.นครปฐม และจังหวัด ข้างเคียง หันมาทำ�เกษตรอินทรีย์ภายใต้โครงการสาม­พรานโมเดล ซึ่งขับเคลื่อน โดยมูลนิธิสังคมสุขใจ ด้วยทุนจากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ ( สสส.) และสำ�นกังานกองทุน-สนับสนุนการวิจัย ( สกว.) โดยมีแนวคิดเพื่อ แก้ปัญหาให้กับเกษตรกรที่ต้องเผชิญกับการถูกกดราคาจาก­พ่อค้าคนกลาง ขณะ เดียวกันก็ยังต้องการแก้ปัญหาเรื่องการใช้สารเคมี และต้นทุนการผลิตให้ เกษตรกรไปพ­ร้อมกันด้วย โดยโครงการ­จะหาช่องทางการตล­าดใหม่ ๆ ให้ เกษตรกร เพื่อให้เกิดการเชื่อมตรงระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค ผ่านห่วงโซ่คุณค่า เกษตรอินทรีย์บนพื้นฐานของธุรกิจที่เป็นธรรม. แต่เมื่อเขาทำ�งานไป เพราะร้สูึกว่าชีวิตใน ของ เต็มรูปแบบ ช่วงแรกก็ประสบ ปัญหาเร่อืงช่องทางการตล­าด เพราะผลผลิตส่วนใหญ่หน้าตา ไม่ค่อยสวยงาม ทำ�ให้ถูกกด ราคา จนเป็นเหตุผลให้คุณพ่อ ตัดสินใจเข้าร่วมเครือข่ายสามพรานโ­มเดล โดยผลผลิตของสวน จะขายให้กับโรงแรมสวน­สามพราน โดยที่มีเกษตรกรเป็นผู้กำ�หนดราคาเอง นอกจากนั้นยังได้นำ�ผลผลิตไปขายตรงใ­ห้กับผู้บริโภคที่ตลาดสุขใจช่วงวันหยุด เสาร์-อาทิตย์ ซึ่งทำ�ให้ครอบครัวเห็นความหวังจากเส้นทางเกษตรอินทรีย์นี้ มากขึ้น

นอกจากนที้างสามพรานโ­มเดลยงัพาออกบธูสขุใจสญัจรในกรงุเทพฯ ทำ�ใหผ้ลไมส้วนลงุประกฤตกิลายเปน็ทรี่จู้กัและเปน็ทตี่อ้งการของลกูคา้ สง่ ผลให้ครอบครัวเรามีรายได้เพิ่มขึ้น มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่กว่าจะก้าว ข้ามเคมี มายืน ณ จุดน้ไีม่ใช่เร่อืงง่ายเลย เก่งบอกว่า การพลิกฟ้นืสวน ผลไม้จากเคมีสู่อินทรีย์ต้องอาศัยความอดทน เพราะทุกอย่างจะต้องใช้เวลา ต้องทำ�แบบค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากต้นไม้จะคุ้นชินกับการใช้ปุ๋ยเคมีมานาน หากหยุดใช้กะทันหัน ต้นไม้ก็อาจจะปรับตัวไม่ทัน และอาจล้มตายได้ ดังนั้น ต้องค่อย ๆ ลดปริมาณลง เพื่อให้ต้นไม้สร้างภูมิคุ้มกันเสียก่อน

 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand