Hello! (Thailand)

‘...ข้าพเจ้านั้นภูมิใจเสมอมาว่า คนไทยมีสายเลือดของช่างฝีมือ อยู่ทุกคน ไม่ว่าจะเป็นชาวไร่ ชาวนา หรือมีอาชีพใด อยู่สารทิศใด’

-

ภูมิปัญญาชาวบ้านในพื้นที่ชนบท ทำให้ ทรงเล็งเห็นถึงสายเลือดของฝีมือช่าง ที่อยู่ในคนไทยและ­ตกทอดกันมาจาก รุ่นสู่รุ่น หากไม่ธำรงรักษาไว้ก็อาจจะ สูญหายไปกับกาลเวลาใน­ภายภาค หน้า

“...ข้าพเจ้านั้นภูมิใจเสมอมาว่า คน ไทยมีสายเลือดของช่างฝีมืออยู่ทุกคน ไม่ว่า จะเป็นชาวไร่ชาวนา หรือมีอาชีพใด อยู่สารทิศใด คนไทยมีความละเอียดอ่อน และฉับไวต่อการรับ ศิลปะทุกชนิด ขอเพียงแต่ให้เขามีโอกาสได้เรียนรู้และ ฝึกฝน เขาก็จะแสดงความ­สามารถออกม­าให้เห็นได้...” พระราชดำรัสตอนหนึ่งที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง พระราชทานแ­ก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวาย พระพรชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรร­ษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2532

สถาบันสิริกิติ์...สร้างคนจาก ของแผ่นดิน’ ‘ศูนย์’ สู่ ‘ช่างหลวง

หลังจากที่มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ ก่อตั้งขึ้นได้ ราว 2 ปี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้เปิดโรงฝึกศิลปาชีพขึ้นในสวนจิตรลดาเมื่อปี พ.ศ. 2521 ซึ่งปัจจุบัน คือ ‘สถาบันสิริกิติ์’ เพื่อให้ลูก หลานชาวนาช­าวไร่ที่ทรงรับมาจากครอบ­ครัวยากจน ได้มีโอกาสเข้ารับการฝึกอบรมงานศิลปะหลายแขน­ง

“...คนเหล่านี้ เป็นลูกชาวไร่ ชาวนาที่ยากจนที่สุด และข้าพเจ้าเลือกมาเป็นพิเศษ เลือกจากความย­ากจน ครอบครัวไหนยากจนที่สุด แล้วมีลูกมากที่สุด จะเลี้ยง ตัวเองไม่ได้ ข้าพเจ้าจึงเลือกมา แล้วมาอยู่ในพระบรม มหาราชวัง ที่ตึกเก่าๆ ที่ดั้งเดิมเป็นที่อยู่ของเจ้านาย ต่างๆ มากมายก่ายกอง ข้าพเจ้าให้เขาอยู่ที่นั่น แล้วก็ มาทำการฝึกที่จิตรลดา”

พระราชดำรัสพระราชทาน­แก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษ­า ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2550

สถาบันสิริกิติ์เปิดฝึกอบรมงานศิลป์ทั้งสิ้น 23 แผนก เช่น ถมทอง คร่ำ เครื่องเงิน-เครื่องทอง ลงยาสี จักสานย่านลิเภา แกะสลักไม้ แกะสลักตุ๊กตาไม้ ตกแต่งปีกแมลงทับ ปักผ้า ทอผ้า ฯลฯ จากการฝึกฝน มากว่า 40 ปี ปัจจุบันสถาบันสิริกิติ์ได้สร้างบุคลากร และพัฒนาช่างฝีมือมาแล้วนับหมื่นคน นอกจากได้ยก ระดับชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น ยังช่วยรักษามรดก ศิลปะไทยโบรา­ณให้คงอยู่คู่กับแผ่นดินและสร้าง ความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยสมดังพระ ราชปณิธานอีกด้วย

งานศลิ ปข์ องแผน่ ดนิ ณ พพิ ธิ ภณั ฑศ์ ลิ ป์ แผน่ ดนิ

เมื่อถึงวาระโอกาส­มหามงคลที่ สำคัญเป็นพิเศษ สถาบันสิริกิติ์ได้ คัดเลือกผลงานชิ้นเอกที่รังสรรค์ขึ้น

อย่างประณีตจากฝีมือของช่างสถาบันสิริกิติ์ไปจัดแสดง เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตติ ามวาระนน้ั ๆ โดยใชช้ อ่ื นทิ รรศการ ‘ศิลป์แผ่นดิน’ และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชม ณ ช่วง เวลาหนง่ึ เทา่ นน้ั เรม่ิ จาก ‘ศลิ ปแ์ ผน่ ดนิ ครง้ั ท่ี 1’ จดั ขน้ึ เมอ่ื ปี 2535 ณ พระทน่ี ง่ั อนนั ตสมาคม พระราชวงั ดสุ ติ ในโอกาสมหา­มงคลที่สมเด็จพระนางสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง ทรงเจริญ พระชนมพรรษ­า 5 รอบ 12 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 ใน การจัดนิทรรศการแต่ละครั้งผู้เข้าชมได้เขียนในสมุด แสดงความคิดเห็นซึ่งมีนับร้อยเล่ม โดยมีข้อความ

ทป่ี รากฏซำ้ ๆ กนั ของทกุ เลม่ คอื คำวา่ “ภมู ใิ จทไ่ี ด้ เกิดเป็นคนไทย” “ภูมิใจที่ได้เกิดบนแผ่นดินของ ทั้งสองพระองค์” ผู้ถวายงานใกล้ชิดเล่าว่าสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรม ราชชนนพี นั ปหี ลวง ไดท้ อดพระเนตรท­กุ เลม่ และ ทรงอ่านทุกข้อความ มีกระแสพระรา­ชดำรัสว่า “เราทำสำเร็จแล้ว เราทำให้คนไทยภูมิใจในชาติ

รกั ประเทศชาต”ิ

ครั้นถึง ‘ศิลป์แผ่นดิน ครั้งที่ 5’ ประชาชนที่มี โอกาสเข้าไปชื่นชมความงดง­ามของนิทรรศการที่จัด แสดงต่างประทับใจและปลื้มปีติในผลงานอันวิจิตร จึง ได้เขียนข้อความในสมุดแสดงความคิดเห็นเสนอแนะ ให้เปิดเป็นการถาวรเพื่อให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศได้ชื่นชมพระบารมีและซาบซึ้ง ในพระมหากรุณาธิคุณ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนีพันปีหลวง จึงได้ ขอพระราชทา­นพระบรมราช­านุญาตพระบาทส­มเด็จ พระบรมชนกา­ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหารา­ช บรมนาถบพิตร ใช้พระที่นั่งอนันตสมาคมเป็น

สถานที่จัดแสดงผลงาน­ตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 โดยใช้ชื่อว่า ‘พิพิธภัณฑ์ศิลป์แผ่นดิน’ “...เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ข้าพเจ้า ได้มีโอกาสไปเปิดงานศิลป์แผ่นดิน ครั้งล่าสุดที่ พระที่นั่งอนันตสมาคม เห็นแล้วบังเกิดความสุข ความปีติโสมนัสอย่างยิ่งว่า นี่คือคนที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และข้าพเจ้าเอาใจใส่ และ เอามาจากคร­อบครัวชาวนาที่ยากจน บัดนี้กลาย มาเป็นครอบครัวชาวนา ที่มีความสามารถ­สูงสุดใน ทางด้านศิลปะ และที่มาตอบแทนพร­ะคุณแผ่นดิน ได้ ท่านทั้งหลายคงเห็นกับตาแล้วว่า งานฝีมือชั้นเลิศ ทั้งหลาย เป็นฝีมือของลูกหลานชาวนา­ทั้งนั้น วันนั้นเป็น วันที่ข้าพเจ้าปลื้มปีติเหลือเกิน...”

พระราชดำรัสพระราชทาน­แก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรร­ษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา วนั ท่ี 11 สงิ หาคม พ.ศ. 2547

ปจั จบุ นั พพิ ธิ ภณั ฑศ์ ลิ ปแ์ ผน่ ดนิ ตง้ั อยทู่ ต่ี ำบลเกาะเกดิ อำเภอบางปะ­อิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดแสดง ผลงานของสถ­าบันสิริกิติ์ที่มีความวิจิตรงดงาม รังสรรค์ อยา่ งพถิ พี ถิ นั แหง่ เชงิ ชา่ งศลิ ปะไทย เชน่ พระทน่ี ง่ั พดุ ตาน ถมทอง เรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์จำลอง เรือพระที่นั่ง มงคลสุบรรณจำลอง เรือพระที่นั่งศรีประภัศรไชยจำลอง สีวิกากาญจน์ ตรีพิธพรรณบุกษก ฉากปักไหมน้อย เรื่อง หิมพานต์ ฉากปักไหมน้อย เรื่องอิเหนา ฉากจำหลักไม้ เรอ่ื งสงั ขท์ องและหมิ พานต์ สปั คบั ครำ่ ทอง ฯลฯ นอกจาก น้ี ภายในพพิ ธิ ภณั ฑฯ์ ยงั มผี ลงานหตั ถศลิ ปอ์ นั ทรงคณุ คา่ อกี จำนวนมาก เชน่ จกั สานยา่ นลเิ ภา จกั สานไมไ้ ผล่ ายขดิ ตกแตง่ ปกี แมลงทบั แกะสลกั ตกุ๊ ตาไม้ เปน็ ตน้

พิพิธภัณฑ์ศิลป์แผ่นดินจึงเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งเดียวใน โลกที่จัดแสดงงานศิลปะอันเกิดจากสองมือของบุตรหลาน ชาวนาชาวไร่ ซึ่งเริ่มต้นจากศูนย์ไม่มีพื้นฐานงานศิลปะ และความไมร่ หู้ นงั สอื บางคนอา่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้ ซง่ึ สง่ิ ทั้งหลายเหล่านี้ล้วนเกิดแต่พระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชช­นนี พนั ปหี ลวง ทท่ี รงสรา้ งสมบตั ขิ องแผน่ ดนิ ไวใ้ หล้ กู หลานได้ ภาคภมู ใิ จในเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ชาตไิ ทย

วันพุธ - วันอาทิตย์

วันจันทร์ และวันอังคาร เทศกาลปีใหม่และสงกรานต์ www.artsofthek­ingdom.com

 ??  ?? (บน) สัปคัปพระคชาธาร จำลองแบบมา­จากพระที่นั่งพุดตานคชาธาร ซึ่งเป็นสัปคัปที่ประทับบนหลังช้างทรง ของพระบาทส­มเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหารา­ชใช้ออกราชสงคร­าม ช่างสถาบันสิริกิติ์ 73 คน ร่วมแรง ร่วมใจกันจัดสร้างโดยโครงด้านในทำด้วยเงินตกแต่งด้วยทองคำสลัก ฉลุโปร่งลายพุดตานใบเทศป­ระดับเพชร อย่างงดงาม (ล่าง) ฉากไม้แกะสลักเรื่องสังข์ทอง จากบทพระรา­ชนิพนธ์ในสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ด้านหลังแกะสลักลวดลายป่าหิมพานต์
(บน) สัปคัปพระคชาธาร จำลองแบบมา­จากพระที่นั่งพุดตานคชาธาร ซึ่งเป็นสัปคัปที่ประทับบนหลังช้างทรง ของพระบาทส­มเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหารา­ชใช้ออกราชสงคร­าม ช่างสถาบันสิริกิติ์ 73 คน ร่วมแรง ร่วมใจกันจัดสร้างโดยโครงด้านในทำด้วยเงินตกแต่งด้วยทองคำสลัก ฉลุโปร่งลายพุดตานใบเทศป­ระดับเพชร อย่างงดงาม (ล่าง) ฉากไม้แกะสลักเรื่องสังข์ทอง จากบทพระรา­ชนิพนธ์ในสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ด้านหลังแกะสลักลวดลายป่าหิมพานต์
 ??  ??
 ??  ?? สุพรรณเภตรา ผลงานของช่าง สถาบันสิริกิติ์ที่เคยนำไปจัด แสดงในนิทรรศการแสด­ง หัตถกรรมไทย ณ หอไอเฟล กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส
สุพรรณเภตรา ผลงานของช่าง สถาบันสิริกิติ์ที่เคยนำไปจัด แสดงในนิทรรศการแสด­ง หัตถกรรมไทย ณ หอไอเฟล กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส
 ??  ?? บุษบกมาลา จำหลักทองประดับ เพชร ปลายยอดปักพุ่มข้าวบิณฑ์ ดอกไม้เพชร ซุ้มบันแถลงจำหลัก ทองปักบราลี บัวถลา หลังคาถมทอง เสาย่อไม้คร่ำทอง วิสูตรทองคำลาย แก้วชิงดวงประดับเพชรรอบทั้ง สี่ด้าน ใช้เวลาทำ 1 ปี ผู้ทำ 285 คน จาก 7 แผนก ทั้งถมทอง
คร่ำ ลงยาสี เครื่องเงิน
เครื่องทอง แกะสลักไม้ ตกแต่งปีกแมลงทับ
และย่านลิเภา
บุษบกมาลา จำหลักทองประดับ เพชร ปลายยอดปักพุ่มข้าวบิณฑ์ ดอกไม้เพชร ซุ้มบันแถลงจำหลัก ทองปักบราลี บัวถลา หลังคาถมทอง เสาย่อไม้คร่ำทอง วิสูตรทองคำลาย แก้วชิงดวงประดับเพชรรอบทั้ง สี่ด้าน ใช้เวลาทำ 1 ปี ผู้ทำ 285 คน จาก 7 แผนก ทั้งถมทอง คร่ำ ลงยาสี เครื่องเงิน เครื่องทอง แกะสลักไม้ ตกแต่งปีกแมลงทับ และย่านลิเภา
 ??  ??
 ??  ?? กระเป๋าราตรีถมทอง ลายพุดตานใบเทศป­ระดับเพชร
กระเป๋าราตรีถมทอง ลายพุดตานใบเทศป­ระดับเพชร
 ??  ?? ขันน้ำพานรองคร่ำเงิน คร่ำทองประดับเพชร ลายก้านขดเถาลาย­เคล้า ภาพนก พานรอง ลายเทศประก­อบกอบัว
ขันน้ำพานรองคร่ำเงิน คร่ำทองประดับเพชร ลายก้านขดเถาลาย­เคล้า ภาพนก พานรอง ลายเทศประก­อบกอบัว
 ??  ?? มังคุดถมตะทอง ประดับเพชร
มังคุดถมตะทอง ประดับเพชร
 ??  ??

Newspapers in Thai

Newspapers from Thailand